ลูกทรพี
คำถาม : คำว่าเนรคุณหรือลูกทรพี คือ ลูกที่ปฏิบัติตัวอย่างไรกับพ่อแม่ และจะต้องแก้ไขวิบากกรรมนี้อย่างไร
ทำอย่างไรจะได้ไม่ต้องเกิดมากำพร้าพ่อแม่หรือลูกหลานทิ้ง
ปัจจุบันปัญหาเด็กกำพร้ามีมากขึ้น คนชราถูกทอดทิ้งก็มีจำนวนไม่น้อย และมีแนวโน้มจะเพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ ตามมามากมาย และอะไรคือสาเหตุสำคัญของปัญหาเหล่านี้
กรรมที่ทำให้ครอบครัวอบอุ่นหรือแตกแยก
สำหรับครอบครัวที่อบอุ่น ตอนที่แต่งงานใหม่ๆ คู่สามี ภรรยาก็วาดฝันไว้สวยหรู ที่เป็นไปตามที่ฝันไว้ มีครอบครัวที่อบอุ่นก็มี ที่ไม่เป็นไปตามที่ฝันไว้ สุดท้ายครอบครัวต้องแตกแยก ต่างคนต่างไปคนละทิศ คนละทางก็มี
พุทธสุภาษิตสะกิดใจ "กตัญญูกตเวที เป็นคนดีของชาติ"
นิมิตฺตํ สาธุรูปานํ, กตญฺญูกตเวทิตา, ความกตัญญูกตเวที เป็นเครื่องหมายของคนดี ทุกคนที่เกิดมาในโลกนี้ ต่างก็ต้องการจะเป็นคนดีด้วยกันทั้งนั้น เมื่อเป็นเช่นนั้น ก็จะต้องหมั่นรำลึกนึกถึงพระคุณของท่านอยู่เสมอ และสิ่งสำคัญยิ่งไปกว่านั้น ก็จะต้องสร้างความดีให้เกิดขึ้นกับตน ให้สังคมมองเห็นว่า เราเป็นคนดี
บุตรที่ดี ย่อมมีความกตัญญูกตเวที
บุตรที่ดี ย่อมมีความกตัญญูกตเวที เป็นองค์ประกอบหนึ่ง กตัญญู หมายถึง เห็นคุณค่าท่าน คือเห็นด้วยใจ ด้วยปัญญา ว่าท่านเป็นผู้มีพระคุณต่อเราอย่างแท้จริง กตเวที หมายถึง การทดแทนพระคุณของท่าน คือ
วัดพระธรรมกายเทนเนสซี จัดพิธีบุพเปตพลี
วัดพระธรรมกายเทนเนสซี ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้จัดสวดพระปาฏิโมกข์ครั้งแรกและพิธีบุพเปตพลี เพื่ออุทิศบุญกุศลให้แก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว
พุทธญาตัตถจริยา
วันเวลาหมุนผ่านเราไปทั้งขณะหลับและตื่น พร้อมกับนำความเสื่อมมาให้เราตลอดเวลา เหมือนกับสนิมที่ค่อยๆ กัดกินเหล็กทีละเล็กทีละน้อย ค่อยๆ ทำให้เหล็ก
วัดพระธรรมกาย จัดพิธีปุพพเปตพลี ครั้งที่ 13
วัดพระธรรมกาย จังหวัดปทุมธานี ได้จัดพิธีปุพพเปตพลี เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้กับหมู่ญาติที่ล่วงลับไปแล้ว เนื่องในวันพระใหญ่
วัดพระธรรมกายกุมมะ จัดพิธีบุพเปตพลี
วัดพระธรรมกายกุมมะ ประเทศญี่ปุ่น ได้จัดพิธีบุพเปตพลี อุทิศส่วนบุญส่วนกุศล ให้แก่หมู่ญาติผู้ล่วงลับไปแล้ว
มงคลที่ ๒๕ มีความกตัญญู - คุณสมบัติของคนดี
แม้จะได้รับตำแหน่งอันทรงเกียรติเชนนั้น พระสารีบุตร ก็ไม่เคยลืมบุญคุณของพระอัสสชิซึ่งเป็นครูบาอาจารย์องค์แรก เวลาก่อนจำวัด ไม่ว่าจะเดินทางไปพักอยู่ที่ใดก็ตาม ท่านจะตามระลึกถึงพระอัสสชิเถระผู้เป็นอาจารย์เสียก่อน เมื่อทราบว่าพระอาจารย์พำนักอยู่ทางทิศใด จะจำวัดหันศีรษะไปทางทิศนั้น เป็นการแสดงความเคารพต่ออาจารย์