กามคุณ
กามคุณ หมายถึง สิ่งที่น่าปรารถนา ชวนให้รักชักให้ใคร่ พาใจให้กำหนัดยินดี มี 5 ชนิด คือ รูป (สิ่งที่ตามองเห็น) เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ (สิ่งที่กายสัมผัส) กามคุณ 5 นี้เป็นอารมณ์ คือสิ่งที่ยึดดึงใจให้ปรารถนา ให้รักใคร่ เป็นต้น จึงเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "กามารมณ์" แปลว่า อารมณ์คือกามคุณ ไม่ได้หมายถึงอารมณ์ทางเพศเพียงอย่างเดียว
การปฏิบัติเพื่อฝึกใจตามเส้นทางสายกลาง
ในธัมมจักกัปปวัตนสูตรอันเป็นพระสูตรที่กล่าวถึงปฐมเทศนาของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงกล่าวถึง มัชฌิมาปฏิปทา หรือ ทางสายกลาง ซึ่งเป็นหนทางหรือข้อปฏิบัติที่ไม่ตึงเกินไปจนเป็นความลำบากแก่ตน (อัตตกิลมถานุโยค) ไม่หย่อนเกินไปจนเป็นการพอกพูนกามกิเลส(กามสุขัลลิกานุโยค) ...
วิธีแก้กรรมให้ตนเองได้ผลดีเร็วขึ้น
วิบากกรรมของคนแต่ละคน ต่างมีวิบากกรรมต่างกันไป บางคนป่วยไม่รู้สาเหตุ นั่ง ๆ หลับ ๆ บางคนตกงานตลอด บางคนลำบากมาก บางคนลูกไม่ดี หากินไม่คล่อง
ก็ยังดี...
ใครๆ ก็ชอบพูดว่า "เส้นทางสู่ความสำเร็จ ไม่ได้โรยด้วยกลีบกุหลาบ" แต่เมื่อชีวิตต้องพบกับอุปสรรคเข้าจริงๆ กลับพูดกันว่า "ทำไมถึงต้องเป็นเรา" "ทำไมเราถึงโชคร้าย" และอื่น ๆ อีกมากมาย
มนุษย์มาจากไหน เหตุใดจึงเรียกว่ามนุษย์
การเวียนว่ายตายเกิดอยู่ใน 31 ภูมินั้น หากเราจะเปรียบเทียบสัตว์ที่อยู่ในภูมิอื่นๆ กับภูมิมนุษย์แล้ว จะพบว่า สัตว์ที่เกิดในภูมิมนุษย์นั้นมีจำนวนน้อยมาก
ทางสายกลางเส้นทางตรัสรู้ของพระพุทธองค์
วันเพ็ญ ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ นับเป็นวันสำคัญที่มหาบุรุษ เจ้าชายสิทธัตถะบำเพ็ญเพียรทางจิต ณ ควงไม้ศรีมหาโพธิ์ จนกระทั่งตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าด้วยการดำเนินจิตตามทางสายกลางหรือมัชฌิมาปฏิปทา
อาทิตตปริยายสูตร
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สิ่งทั้งปวงเป็นของร้อน ก็อะไรเล่าชื่อว่าสิ่งทั้งปวงเป็นของร้อน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จักษุเป็นของร้อน รูปทั้งหลายเป็นของร้อน วิญญาณอาศัยจักษุเป็นของร้อน สัมผัสอาศัยจักษุเป็นของร้อน ความเสวยอารมณ์เป็นสุขเป็นทุกข์ หรือมิใช่สุขมิใช่ทุกข์ ที่เกิดขึ้นเพราะจักขุสัมผัสเป็นปัจจัย แม้นั้นก็เป็นของร้อน
มหัศจรรย์วันออกพรรษา
พระจันทร์ พระอาทิตย์ ซึ่งปราศจากมลทิน ย่อมแจ่มกระจ่างในท้องฟ้า ซึ่งปราศจากเมฆฝน ฉันใด ข้าแต่พระองค์ ผู้มีพระรัศมีซ่านออกแต่พระสรีรกาย ผู้เป็นมหามุนี พระองค์ย่อมรุ่งเรืองล่วงสรรพสัตวโลก ด้วยพระยศ ฉันนั้น ดังนี้
พบ "วาฬออร์ก้า" 5ตัว โผล่ที่เกาะสุรินทร์
พระพุทธคุณ ตอน พระผู้เสด็จไปดีแล้ว
พระสุคต มาจากศัพท์บาลี คือ สุคโต แปลว่า เสด็จไปดี เสด็จไปงาม คือ พระองค์ทรงมีทางเสด็จที่ดีงามอันได้แก่ อริยมรรค และได้เสด็จไปสู่ที่ดีงาม คือ พระนิพพาน โดยทรงดำเนินรุดหน้าไป ไม่หวนกลับคืนมาสู่กิเลสที่ทรงละได้แล้ว