กากชาดก ชาดกว่าด้วยการผูกอาฆาต
เจ้ากาหัวรั้น ผู้ไม่ยอมเชื่อฟังคำตักเตือนของสหาย ได้ก่อเหตุถ่ายรดศีรษะของพราหมณ์ปุโรหิตด้วยความตั้งใจที่จะกลั่นแกล้ง จึงก่อให้เกิดความอาฆาตขึ้นในใจของพราหมณ์ปุโรหิตและเป็นเหตุให้เหล่าพวกพ้องพีน้องกาทั้งหลายต้องพากันเดือดร้อนกันถ้วนหน้า
กามชาดก ชาดกว่าด้วยกามและโทษของกาม
ครั้งนั้นเมื่อองค์พระศาสดาทรงประทับอยู่ ณ เชตวันมหาวิหาร ทรงปรารภกับพราหมณ์ชาวเมืองสาวัตถีผู้หนึ่ง เขาผู้นี้ได้ทำการหักร้างป่าเพื่อต้องการทำเป็นไร่ พระศาสดาทรงเห็นอุปนิสัยของเขา เมื่อเสด็จเข้าไปโปรดสัตว์ในพระนครสาวัตถี
มสกชาดก ชาดกว่าด้วยมีศัตรูผู้มีปัญญาดีกว่ามีมิตรโง่
อันชื่อว่ามนุษย์ย่อมมีทั้งดีและร้าย เมื่อมีคนที่ทำกรรมดีก็มีคนที่ทำกรรมชั่วเช่นกัน ครั้งหนึ่งเมื่อพระบรมศาสดาเสด็จจาริกไปในหมู่ชนชาวมคธได้เกิดเรื่อพิสดารขึ้น
กฏาหกชาดก ชาดกว่าด้วยคนขี้โอ่
ในกาลนั้น ยังมีภิกษุรูปหนึ่งถึงพร้อมด้วยความฉลาดเฉลียว แต่กลับมีนิสัยขี้โอ่ เที่ยวอวดตนข่มท่านไปทั่ว จนเป็นที่เอือมระอาต่อเหล่าภิกษุด้วยกัน “นอกจากพระศาสดาแล้ว ในพระเชตวันแห่งนี้ ก็จะหาใครที่ฉลากว่าข้าไม่มีอีกแล้ว ฮ่าๆๆ ข้าภูมิใจตัวเองจริงๆ ฮ่าๆๆ ” “ ดูสิท่าน ภิกษุขี้โอ่รูปนั้น เดินมาทางนี้แล้ว ” “ กระผมว่าเราไปที่อื่นกันดีกว่านะท่าน ”
กปิชาดก ชาดกว่าด้วยการโกหกหลอกลวง
ดาบสน้อยกำลังจะเอื้อมมือเปิดประตูให้แขกผู้มาขอพักหนาว ทันใดนั่นเองพระฤาษีผู้เป็นบิดาก็คว้าคบไฟชิงก้าวตัดหน้าออกไปก่อน “ ช้าก่อนดาบสน้อยของพ่อ อาคันตุกะตัวนี้มิใช่ฤาษีที่ไหนหรอกลูก หากแต่เป็นผู้หลอกลวงเรา ด้วยเอาหนังเสือและชฎาจากซากศพฤาษีที่ตายแล้วมาห่ม หวังพักผิงไฟแก้หนาวก็เท่านั้น ”
กุหกชาดก ชาดกว่าด้วยพูดดีได้เงินได้ทอง
เศรษฐีได้นำทองคำไปฝังไว้ใกล้ๆ บรรณศาลาของดาบส และได้ฝากฝังดาบสให้เป็นผู้ดูแลทองคำนั้น ดาบสปลอมหรือชฎิลโฏงได้ถือโอกาสขุดเอาทองคำของเศรษฐีในยามค่ำคืนไปแอบซ่อนไว้ที่อื่นจนหมดสิ้น
พกชาดก-ชาดกว่าด้วยบาปกรรมของผู้ฉลาดแกมโกง
พระเชตะวันมหาวิหาร ณ เวลาในพุทธกาลสมัยหนึ่งยังมีพระภิกษุผู้มีศิลปะในการตัดเย็บ ย้อมสี ปะ ชุนจีวร ฝีมือดีจนเป็นที่ยอมรับในหมู่สงฆ์ ภิกษุรูปนี้ชาญฉลาดในการทำจีวรให้งาม ภิกษุสงฆ์ทั้งหลายพากันขนานนามตามความหมายนั้นว่า พระจีวรวัฒฑกะ
จ.สมุทรปราการ เตรียมจัดพิธีห่มผ้าแดงพระสมุทรเจดีย์
จังหวัดสมุทรปราการ เตรียมจัดพิธีห่มผ้าแดงรอบองค์พระสมุทรเจดีย์ เพื่อสืบสานวัฒนธรรมประเพณีของชาวสมุทรปราการที่มีมานานกว่า 100 ปี
พิจิตรร่วมใจบริจาคโลหิตช่วยพี่น้อง3จว.ใต้
มงคลที่ ๗ เป็นพหูสูต - สั่งสมปัญญาบารมี
ความรู้ในพระไตรปิฎกนั้น ยิ่งศึกษายิ่งแตกฉาน ทำให้เราเข้าใจและรู้หนทางไปสู่อายตนนิพพานเพิ่มมากขึ้น เสมือนได้นั่งอยู่เบื้องพระพักตร์ของพระบรมศาสดา กาย วาจา ใจ ของเราจะบริสุทธิ์เกลี้ยงเกลาตามพระองค์ไปด้วย ในตอนนี้จะได้อธิบายเกี่ยวกับหมวดพุทธวจนะ ในพระไตรปิฎก