วันครูผู้ค้นพบวิชชาธรรมกาย
วันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำเดือน 10 ของทุกปีเป็นวันที่เราจะนึกถึง พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หรือหลวงพ่อวัดปากน้ำ ท่านได้สละชีวิตในการนั่งสมาธิจนเข้าถึงธรรมกาย
กายแห่งการตรัสรู้ธรรม
ในกาลใดแล ธรรมทั้งหลาย มาปรากฏแก่พราหมณ์ผู้มีความเพียรเพ่งอยู่ ในกาลนั้น พราหมณ์ย่อมกำจัดมาร และเสนามารเสียได้ ดุจพระอาทิตย์กำจัดความมืด ส่องสว่างอยู่ในอากาศ ฉะนั้น
ความหมายของกายในคำว่าธรรมกาย ตอนที่ 2
นอกจากธรรมกายของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าและพระปัจเจกพุทธเจ้าแล้ว ในพระไตรปิฎกบาลียังกล่าวถึงธรรมกายของพระพุทธสาวกด้วยดังที่ปรากฏในมหาปชาบดีโคตมีเถรีอปทาน อันเป็นถ้อยคำที่พระมหาปชาบดีโคตมีเถรีกราบทูลลาพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเพื่อเสด็จปรินิพพาน
ธรรมกาย กายแห่งการตรัสรู้ธรรม
ธรรมกาย คือ กายแห่งการตรัสรู้ธรรม คำว่า “ธรรมกาย” มีปรากฏหลักฐานทั้งในพระไตรปิฎก และคัมภีร์สำคัญๆ ในพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทของเราหลายแห่ง พุทธรัตนะ คือ ธรรมกาย ธรรมรัตนะ คือ ธรรมทั้งหลายที่กลั่นจากหัวใจธรรมกาย สังฆรัตนะ คือ ดวงจิตของธรรมกาย
ความรู้เรื่องธรรมกาย
ธรรมกาย คือ อะไร ในตัวของเรามีธรรมกายหรือไม่ ธรรมกายมีลักษณะอย่างไร ต้องประพฤติธรรมหมวดใด จึงจะเข้าถึงธรรมกาย การปฏิบัติเพื่อให้เข้าถึงธรรมกาย ต้องทำอย่างไร หลักฐานคำว่า “ธรรมกาย” มีอยู่ที่ใดบ้าง รวมข้อมูลธรรมกาย ที่นี่
“วันครูผู้ค้นพบวิชชาธรรมกาย” “วันมหัศจรรย์ของโลก” วันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำเดือน 10 ของทุกปีเป็นวันที่เราจะนึกถึง พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หรือหลวงพ่อวัดปากน้ำ ท่านได้สละชีวิตในการนั่งสมาธิจนเข้าถึงธรรมกาย
วันนี้เป็นวันที่สองของการเข้าพรรษา : ความมืดเป็นมิตร
วันนี้วันที่ 2 ของการเข้าพรรษา ต้องนับกันไปเป็นวัน ๆ เลย เพราะมีเวลาจำกัดแค่ 90 วันเท่านั้น เพื่อเตือนว่าชีวิตเราผ่านไปแต่ละวันนั้นได้สร้างสิ่งที่ดีได้แค่ไหน ทำให้เราปลื้มปีติภาคภูมิใจไหม ถ้ารู้สึกปลื้มปีติภาคภูมิใจก็ใช้ได้ และเราก็จะได้ไปสรุปกันตอนก่อนจะออกพรรษา
พุทธประวัติ
พุทธประวัติพระสัมมาสัมพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน การสร้างบารมีของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในแต่ละพระองค์ก็สร้างบารมีกันมายาวนาน ทรงเกิดในภพต่างๆ เป็นอันมาก และด้วยการเวียนว่ายตายเกิด ด้วยการฝึกฝนอดทน มุ่งมั่นตั้งใจอย่างมาก จึงเป็นเหตุให้พระพุทธองค์ทรงมีปัญญากว้างขวาง เป็นพระสัพพัญญูรอบรู้ทุกสิ่งทั้งปวง
ความหมายของกายในคำว่าธรรมกาย
คำว่า ธรรมกาย เป็นศัพท์สมาส ที่อาจแปลเป็นคำคุณศัพท์ว่า ผู้มีธรรมเป็นกาย หรืออาจแปลเป็นคำนามก็ได้ว่า กายแห่งธรรม กายคือธรรมหรือ กายที่ประกอบด้วยธรรม
ธรรมกาย ในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาทยุคต้น
“ธรรมกาย” เป็นคำที่คุ้นเคยกันดีในหมู่ชาวพุทธ แต่ความหมายของธรรมกายในใจของชาวพุทธแต่ละกลุ่มอาจไม่เหมือนกัน เมื่อความเข้าใจเรื่องธรรมกายในหมู่ชาวพุทธแตกต่างกันอย่างนี้ จึงน่าศึกษาว่า คำว่า “ธรรมกาย” ในคำสอนเก่าแก่ที่เก็บรักษาไว้โดยชาวพุทธในแต่ละท้องถิ่นนั้นเป็นอย่างไร....