มงคลที่ ๔ อยู่ในถิ่นที่เหมาะสม
เราจะเห็นว่า การได้อยู่ในปฏิรูปเทส เช่นพระวักกลินั้น เป็นมงคลยิ่งแก่ชีวิต เพราะท่านอยู่ในกรุงสาวัตถี ซึ่งเป็นที่ตั้งของวัดเชตวันที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าประทับอยู่นานที่สุด จึงมีโอกาสได้เห็นพระพุทธองค์ เห็นแล้วก็มีความศรัทธาเลื่อมใส ได้บวชในบวรพระพุทธศาสนา ได้ฟังธรรม ฝึกฝนตนเอง จนในที่สุดได้บรรลุมรรคผลนิพพาน
ชีวิตของนักสร้างบารมี
นรชนเหล่าใด คบหาสัตบุรุษผู้มีปัญญาดี ได้รับยกย่องว่าเป็นนักปราชญ์ ชนเหล่านั้นตั้งศรัทธาไว้ในพระสุคตเป็นเค้ามูลแล้ว ย่อมไปสู่เทวโลก หรือพึงเกิดในตระกูลสูงในโลกนี้ ชนเหล่านั้นเป็นบัณฑิต ย่อมบรรลุนิพพานโดยลำดับ
มงคลที่ ๓ บูชาบุคคลที่ควรบูชา - ผู้อยู่้ใกล้พระรัตนตรัย
"ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ หม่อมฉันขอกราบนิมนต์พระองค์พร้อมด้วยพระภิกษุสงฆ์ เพื่อฉันภัตตาหารเช้าในวันรุ่งขึ้น ด้วยสัญญาณของหม่อมฉันนี้ ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทราบเถิดว่า พระองค์เป็นผู้อันหม่อมฉันนิมนต์ไว้แล้ว"
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - ของแท้ของเทียม
วันรุ่งขึ้น เมื่อนิครนถ์ ๕๐๐ คน มาถึง สิริคุตต์ออกไปต้อนรับ พลางนึกในใจว่า "หากนิครนถ์เหล่านี้เป็นผู้รู้จริง จงอย่าเข้ามาในเรือน เพราะในเรือนนี้ไม่มีภัตตาหาร มีแต่หลุมคูถ"
ทำอย่างไรจึงจะรวย สวย บริวารไม่ดื้อ ใช้แต่ของดี ไม่มีภัยอันตราย ?
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สัตบุรุษครั้นให้ทานด้วยศรัทธาแล้ว ย่อมเป็นผู้มั่งคั่ง มีทรัพย์มาก มีโภคะมาก และเป็นผู้มีรูปสวยงามน่าดู น่าเลื่อมใส
มงคลที่ ๒๓ มีความถ่อมตน - พระทัพพมัลลบุตร (๑)
เรื่องราวชีวิตในสังสารวัฏนั้น มีเรื่องแปลกๆ มากมาย ที่เป็นคำถามให้สงสัย รอคอยผู้มีบุญมาเฉลยคำตอบ ชีวิตของบุคคลที่เกิดมา ล้วนมีฉากหลังกำกับ นั่นคือบุญและบาป ขึ้นอยู่กับสิ่งใดจะมีกำลังส่งผลมากกว่ากัน คนที่ได้รับผลบุญพิเศษนั้น จะต้องสร้างบุญไว้มากๆ ไม่ใช่ว่าจะได้มาอย่างง่ายๆ ถ้าอยากกำหนดชีวิตของเราให้เป็นไปในทิศทางใด
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - ผู้ชี้หนทางสว่าง
เรื่องมีอยู่ว่า พระเจ้าพรหมทัต ท่านหลงผิด ไปติดใจในการเสวยเนื้อมนุษย์ จึงทำบาปกรรมจนถูกเนรเทศออกไปจากเมือง พระองค์ได้ไปอาศัยอยู่ใต้ต้นไทรในป่า เปลี่ยนชื่อเป็น โจรโปริสาท คอยดักฆ่าคนที่เดินทางผ่านมา แล้วเอาเนื้อมากิน จนข่าวนี้ลือกันไปทั่วชมพูทวีป
กลิ่นปุปผชาติ ก็หอมทวนลมไม่ได้
กลิ่นปุปผชาติ ก็หอมทวนลมไม่ได้ กลิ่นจันทน์ กฤษณา หรือดอกมะลิ ก็หอมทวนลมไม่ได้ แต่กลิ่นสัตบุรุษ หอมทวนลมได้
เนมิราชชาดก บำเพ็ญอธิษฐานบารมี (๗)
พระรัตนตรัย คือ พุทธรัตนะ ธรรมรัตนะ และสังฆรัตนะ เป็นสมบัติอันลํ้าค่ากว่ารัตนะใดๆ ในโลก เพราะเป็นที่พึ่งทั้งใน
สื่อมวลชนเสนอข่าว ''ประธานมูลนิธิธรรมกาย ได้รับอาราธนานิมนต์เข้าร่วมงานฉลองครบรอบ 20 ปี แห่งการบูรณะวัดต้าฉือ เมืองเฉิงตู ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน"
''ประธานมูลนิธิธรรมกาย ได้รับอาราธนานิมนต์เข้าร่วมงานฉลองครบรอบ 20 ปี แห่งการบูรณะวัดต้าฉือ เมืองเฉิงตู ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน" โดยมีสื่อมวลชนหลายแห่งให้การเผยแพร่ข่าวสารนี้