แนะเปิดทางเด็กแอสเพอร์เกอร์ซินโดรม พบ1รายเรียนถึงปริญญาเอกวิศวะคอมพ์
กติกาตอบปัญหาชิงรางวัล
15 วัน พิชิตชัย 1. เริ่มเล่นเกมส์ตอบคำถามได้ ในวันที่ 15 สิงหาคม 2553 2. คำถามจะเริ่มตั้งแต่ วันที่ 15 สิงหาคม และสิ้นสุด ในวันที่ 29 สิงหาคม 2553 3. จะมีคำถามทุกวัน วันละ 20 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน
แสวงจุดร่วม สมานจุดต่าง
ช่วงเวลาอื่นที่ไม่ได้นั่งสมาธิก็นึกถึงสูตรเด็ดกลเม็ดเคล็ดลับที่สำคัญ ที่พระเดชพระคุณหลวงพ่อให้ไว้ คือ “การบ้าน 10 ข้อ อย่าขาด ทำในทุกอิริยาบถ ทั้งนั่ง นอน ยืน เดิน โดยให้ใจชำเลืองมองดูศูนย์กลางกาย ดูดวงธรรมไปด้วย เราจะรู้สึกว่าชีวิตเกิดมามีคุณค่าทุกนาที ดูดีที่ฐานที่ 7 เหมือนมีเพื่อนที่คอยให้ความรักความอบอุ่น มีเพื่อนดีๆอยู่กลางกายตลอดเวลา”
ของข้าใครอย่าแตะ
ตัวอย่างความทุกข์ในการครองเรือน...สามี-ภรรยาคู่หนึ่ง...เนื่องจากสามีเกิดมีความรักครั้งใหม่กับลูกจ้างสาวในร้าน ทำให้ภรรยาต้องยอมข่มใจ ยอมให้สามีมีภรรยาอีกคนหนึ่งได้ ภายใต้เงื่อนไข 3ข้อ...ภรรยาต้องทนเก็บกดกับเรื่องนี้ จนเป็นไมเกรน รักษาอย่างไรก็ไม่หาย...ภรรยาผู้น่าเห็นใจ ประกอบเหตุมาอย่างไรจึงต้องมาพบกับสภาพเช่นนี้
กิจกรรมวันเข้าพรรษาสุดฮอต 7 ข้อ แล้วคุณล่ะจะทำอะไร?
กิจกรรมวันเข้าพรรษา ที่พุทธศาสนิกชนนิยมทำกันมีอะไรบ้าง ...
ศีล..ทางมาแห่งรูปสมบัติ
ศีลเป็นบ่อเกิดแห่งความสงบ ความดีงาม เนื่องจากศีลเป็นคุณธรรมที่ช่วยรักษา กาย วาจาให้เป็นระเบียบเรียบร้อย การรักษาศีลให้บริสุทธิ์จะทำให้ใจสงบ ปลอดกังวล ช่วยให้สามารถบรรลุธรรมได้โดยง่าย
พบถ้ำผาสลักพระพุทธรูปใหญ่ อายุร่วม1,600 ปี
จดหมายจาก Middle Way
ในระหว่าง วันที่ 24 - 30 เม.ย. 2557 นี้ มี 29 คน จาก 15 ชาติ เดินทางข้ามน้ำข้ามทะเลเพื่อมาข้ามอีกทะเลนึง เข้าสู่มุกตะวัน ดินแดนเพื่อการปฏิบัติธรรมและได้รู้จักการฝึกตน 8 ข้อ (ศีล 8) เพื่อช่วยให้กายและใจเหมาะสมกับการนั่งสมาธิ
สังคหวัตถุ-4-หลักการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ
ท่านทั้งหลายทราบหรือไม่ว่า การที่เรามาอยู่ร่วมกันในสังคมนั้นต้องปฏิบัติตนอย่างไร จึงจะอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่านทรงได้ให้หลักธรรมในการดำเนินชีวิตในสังคมอย่างเป็นสุขคือ สังคหวัตถุ 4 ซึ่งประกอบด้วยหลักธรรม 4 ข้อ ได้แก่ ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา และ สมานัตตา โดยมีรายละเอียดแต่ละข้อดังนี้
อิทธิบาท4 ทางดำเนินไปสู่ความสำเร็จ
อิทธิบาทก็คือ “ทางดำเนินไปสู่ความสำเร็จ”ซึ่งประกอบด้วยหมวดธรรม 4 ข้อ คือ 1. ฉันทะ คือ เต็มใจทำ 2. วิริยะ คือ แข็งใจทำ 3. จิตตะ คือ ตั้งใจทำ 4. วิมังสา คือ เข้าใจทำ