ธัมมัทธชชาดก ชาดกว่าด้วยพูดอย่างหนึ่งทำอย่างหนึ่ง
มีภิกษุอยู่รูปหนึ่งเป็นผู้ที่ชอบพูดจาโป้ปดอยู่เสมอ คำพูดอย่างหนึ่งแต่การกระทำอีกอย่างหนึ่งจนเป็นที่ระอาใจในหมู่ภิกษุสงฆ์ด้วยกัน ภิกษุทั้งหลายได้พาภิกษุที่ชอบโกหกไปเข้าเฝ้าองค์พระศาสดาเพื่อให้พระองค์ได้ชี้แนะตักเตือน
จิตแพทย์ชี้ภาพ เสียง เหตุรุนแรงทำเด็กซึมซับ เลียนแบบ แนะวิธีทำความเข้าใจให้"ลูก" เวลาดูข่าวการเมือง
เงินรายได้ตามน้ำ ที่ลูกได้จากการทำงานในหน้าที่นั้นบาปหรือไม่ ถ้าบาปจะมีวิบากกรรมอย่างไร และถ้าลูกนำเงินนี้มาทำบุญจะมีผลบุญอย่างไร
ลูกทำงานเป็นข้าราชการ งานในหน้าที่ที่ลูกทำจะมีรายได้จากเงินที่เรียกว่า เงินตามน้ำ* บางเดือนได้มากกว่าเงินเดือนประจำเสียอีก
มงคลที่ ๗ เป็นพหูสูต - สั่งสมปัญญาบารมี
ความรู้ในพระไตรปิฎกนั้น ยิ่งศึกษายิ่งแตกฉาน ทำให้เราเข้าใจและรู้หนทางไปสู่อายตนนิพพานเพิ่มมากขึ้น เสมือนได้นั่งอยู่เบื้องพระพักตร์ของพระบรมศาสดา กาย วาจา ใจ ของเราจะบริสุทธิ์เกลี้ยงเกลาตามพระองค์ไปด้วย ในตอนนี้จะได้อธิบายเกี่ยวกับหมวดพุทธวจนะ ในพระไตรปิฎก
นักวิชาการเตือนฟ้าผ่า! ไม่ได้เกิดจากโลหะสื่อล่อฟ้า
อานุภาพความสุขอยู่ที่ใจ ยืดอายุขัยออกไปได้นาน ถึง 10 ปี
มงคลที่ ๗ เป็นพหูสูต - ปัญญาพาพ้นภัย (๒)
เนื่องจากความคุ้นเคยกันมากเกินไป พระเทวีได้ประพฤติ นอกใจพระราชา โดยประพฤติมิจฉาจารกับทาสของตนเอง เมื่อพระนางทำผิดแล้ว เกรงว่าพระสวามีจะจับได้ จึงแนะนำให้ทาสปลงพระชนม์พระราชา
มงคลที่ ๑๖ ประพฤติธรรม - ก่อเวรเพราะวาทกรรม
ในโลกนี้ สิ่งที่จะบั่นทอนกำลังใจของคนเราได้มากคือคำพูด คำพูดที่ตัดกำลังใจหรือกดใจผู้ฟังให้ต่ำลง ทำให้ผู้ฟังรู้สึกระคายหู ก่อให้เกิดความไม่พอใจความขุ่นมัวโกรธเคือง และยังเป็นวาทกรรมที่ก่อเวร ทำให้ผูกพยาบาทจองเวรกันอีกด้วย ซึ่งการผูกโกรธผูกพยาบาท จะทำให้ใจกระสับกระส่ายไม่เป็นสมาธิ นอกจากนี้หน้าตาก็ยังเศร้าหมองไม่ผ่องใส ไม่น่าเข้าใกล้ ใครๆ ต่างถอยห่างไม่อยากจะคบหาสมาคมด้วย
ชัยชนะครั้งที่ ๘ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า(ตอนที่ ๑ ชนะพกาพรหม)
นักสร้างบารมีต้องมีใจจรดจ่ออยู่กับการสร้างบารมี ไม่ใช่ส่งใจไปในเรื่องอื่นที่ไม่เป็นสาระ อันเป็นเหตุให้อาสวกิเลสเข้ามาอยู่ในใจ ต้องคิดตลอดเวลาว่า ทำอย่างไรบารมีของเราจึงจะเต็มเปี่ยมบริบูรณ์
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 37 ต้นมหาโพธิพฤกษ์
ต้นมหาโพธิพฤกษ์ หรือต้นไม้ตรัสรู้ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแต่ละพระองค์นั้น จะมีความแตกต่างกันไปตามแต่ละยุคสมัย