เทพบุตรมาร (๒)
รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยหู กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจมูก รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยลิ้น สัมผัสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยกาย ธรรมารมณ์ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยใจ อันน่ารักน่าปรารถนาน่าใคร่ น่าพอใจ อาศัยความใคร่ ชวนให้กำหนัดมีอยู่ หากภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่สรรเสริญ ไม่หมกมุ่น ไม่พัวพันอยู่ในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสและธรรมารมณ์ ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ไม่ไปสู่ที่อยู่ของมาร ไม่ตกอยู่ในอำนาจของมาร ไม่ถูกมารครอบงำ เป็นผู้พ้นจากบ่วงมาร ภิกษุนั้น มารผู้มีบาปพึงใช้บ่วง ทำตามความปรารถนาไม่ได้
ไทยเร่งทำที่ทำงาน-สาธารณะ ให้เป็นที่ปลอดบุหรี่100%
เป็นกัลยาณมิตรให้กับตัวเองก่อน แล้วจึงเป็นกัลยาณมิตรให้กับทุกคนที่อยู่รอบข้าง
ถ้าจะกล่าวถึงหน้าที่ที่แท้จริงของมนุษย์ เอาเข้าจริงๆแล้ว หน้าที่หลัก คือ การบำเพ็ญตนเป็นกัลยาณมิตรให้กับตนเอง และให้กับชาวโลก
เตรียมมอบรถต้นแบบให้คนไทยทั้งประเทศ
อัศจรรย์เคี้ยว “มะนาว” เลิกบุหรี่ใน 2 สัปดาห์
ต้นบัญญัติมารยาทไทย ตอนที่ ๒ บ่อเกิดของมารยาทไทย หมวดที่ ๑ สารูป
ถ้าพูดภาษาชาวบ้านก็เกี่ยวกับการรักษารูปของเรา คือ เรื่องการแต่งเนื้อแต่งตัวและกิริยามารยาทต่าง ๆ ซึ่งของพระภิกษุท่านว่าไว้อย่างนี้ ข้อ ๑-๒ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักนุ่ง-จักห่มให้เรียบร้อย”
ทำอย่างไรจึงจะฝึกตนให้เป็นคนมีเหตุผล
คนมีเหตุผล คือผู้ที่สามารถตัดสินใจด้วยตนเองได้ เนื่องจากมีความเห็นถูกตามมาตรฐาน ของผู้รู้จริง คือพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ตรัสรู้อนุตรสัมมาสัมโพธิญาณด้วยพระองค์เอง ความเห็นถูก ภาษาพระเรียกว่า สัมมาทิฐิ หมายถึง ความเห็นถูกหรือความเข้าใจถูกในเรื่อง ของกรรม
ขอเชิญร่วมบุญจัดพิมพ์หนังสือ “ดีชั่ว” เกิดด้วยกรรมหรือบังเอิญ
ผลวิจัยชี้ลูกเป็ดขี้เหร่ทำดีไม่เคยขึ้น คนตีค่าหน้าตากว่ารอยหยักสมอง
แด่ว่าที่ทารกผู้ไม่มีโอกาสได้ร้องอุแว๊คนต่อไป
การมาเกิดของมนุษย์ต้องอาศัยพ่อและแม่เป็นแดนเกิด เหมือนเนอสเซอรี่ เป็นที่บ่มเพาะต้นกล้าที่ยังเล็กอยู่ ชีวิตของทารก จึงตกอยู่ภายในความดูแลของพ่อแม่ ในช่วงเริ่มต้น แต่ถ้าพ่อ หรือแม่ไม่เอาทารก