นอนกรน วิธีแก้นอนกรน รักษาได้ผ่าตัดได้ไม่น่ากลัว
นอนกรน เป็นได้ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ ปัญหาอาการนอนกรนทำให้นอนไม่หลับทั้งเจ้าตัวเอง และคนที่นอนข้างๆ วิธีแก้นอนกรนทำได้เองง่ายๆ หรือปรึกษาแพทย์เพื่อผ่าตัด
ธัมมัทธชชาดก ชาดกว่าด้วยพูดอย่างหนึ่งทำอย่างหนึ่ง
มีภิกษุอยู่รูปหนึ่งเป็นผู้ที่ชอบพูดจาโป้ปดอยู่เสมอ คำพูดอย่างหนึ่งแต่การกระทำอีกอย่างหนึ่งจนเป็นที่ระอาใจในหมู่ภิกษุสงฆ์ด้วยกัน ภิกษุทั้งหลายได้พาภิกษุที่ชอบโกหกไปเข้าเฝ้าองค์พระศาสดาเพื่อให้พระองค์ได้ชี้แนะตักเตือน
ถ้าเราไปซื้อปลาที่มันชามาปล่อยให้มันตายเองสียก่อน แล้วเอามาทำอาหาร อย่างนี้จะบาปไหม
ปลาช่อนที่เขาเอามาขายมันเริ่มชาแล้ว อย่างไรเสียอีกไม่นาน มันก็ต้องตายเอง เราไปซื้อปลาที่มันชา เอามาบ้านแล้วปล่อยให้มันตายเองสียก่อน แล้วเอามาทำอาหาร อย่างนี้จะบาปไหม
วิชาโหงวเฮ้งทำให้รู้หน้ารู้ใจจริงหรือ
วิชาโหงวเฮ้ง ทำให้เราได้ทราบถึงการพิจารณาบุคคลที่จะรับเข้าทำงาน หรืออาจเป็นการคัดกรองบุคคลต่างๆ ที่จะมาทำธุรกิจร่วมกัน หรือแม้กระทั่งร่วมชีวิตด้วยกัน
มงคลที่ ๗ เป็นพหูสูต - สั่งสมปัญญาบารมี
ความรู้ในพระไตรปิฎกนั้น ยิ่งศึกษายิ่งแตกฉาน ทำให้เราเข้าใจและรู้หนทางไปสู่อายตนนิพพานเพิ่มมากขึ้น เสมือนได้นั่งอยู่เบื้องพระพักตร์ของพระบรมศาสดา กาย วาจา ใจ ของเราจะบริสุทธิ์เกลี้ยงเกลาตามพระองค์ไปด้วย ในตอนนี้จะได้อธิบายเกี่ยวกับหมวดพุทธวจนะ ในพระไตรปิฎก
แม่จะเป็นอะไรก็ห่วงใยลูกเสมอ
การฆ่าบิดา ถือเป็นกรรมหนัก...ชายคนหนึ่ง มีนิสัยเกเร ติดกาว มักจะไถเงินจากพ่อของตนเองเสมอ เมื่อไม่ได้ก็จะซ้อมทุบตี จนสุดท้าย ก็ได้ซ้อมพ่อของตนเองจนเสียชีวิต หลังจากนั้น เขาได้ชดใช้กรรมในทางกฎหมาย ต้องไปติดคุกเพื่อชดใช้ความผิด เมื่อตายแล้วเขาจะต้องไปชดใช้กรรมอีกอย่างไร...และคำถาม...การเข้าถึงพระธรรมกาย จะสามารถช่วยเหลือหมู่ญาติในนรกได้ทุกขุม รวมทั้งอเวจี และโลกันตนรก หรือไม่...ที่นี่...มีคำตอบ
นักวิชาการเตือนฟ้าผ่า! ไม่ได้เกิดจากโลหะสื่อล่อฟ้า
อานุภาพความสุขอยู่ที่ใจ ยืดอายุขัยออกไปได้นาน ถึง 10 ปี
ชัยชนะครั้งที่ ๘ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า(ตอนที่ ๑ ชนะพกาพรหม)
นักสร้างบารมีต้องมีใจจรดจ่ออยู่กับการสร้างบารมี ไม่ใช่ส่งใจไปในเรื่องอื่นที่ไม่เป็นสาระ อันเป็นเหตุให้อาสวกิเลสเข้ามาอยู่ในใจ ต้องคิดตลอดเวลาว่า ทำอย่างไรบารมีของเราจึงจะเต็มเปี่ยมบริบูรณ์
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 37 ต้นมหาโพธิพฤกษ์
ต้นมหาโพธิพฤกษ์ หรือต้นไม้ตรัสรู้ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแต่ละพระองค์นั้น จะมีความแตกต่างกันไปตามแต่ละยุคสมัย