มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - อย่างหลงใหลเพลิดเพลิน
สมัยหนึ่งในกรุงราชคฤห์ มีหญิงงามเมืองผู้มีความงดงามคนหนึ่ง ชื่อ สิริมา ได้เคยประทุษร้ายต่อนางอุตตรา ซึ่งเป็นลูกสาวของท่านปุณณเศรษฐี เมื่อสำนึกผิดแล้วได้ขอโทษนางอุตตรา และทูลขอขมาโทษพระบรมศาสดาด้วย ในวันนั้น หลังจากได้ฟังพระธรรมเทศนาจากพระบรมศาสดาว่าพึงชนะคนโกรธ ด้วยความไม่โกรธ พึงชนะคนไม่ดี ด้วยความดี พึงชนะคนตระหนี่ ด้วยการให้
มงคลที่ ๑๘ ทำงานไม่มีโทษ - คนกินเดนหรือคนกินซากศพ
ฤๅษีได้ยินนกพูดดังนั้น ต่างถามกันว่า ที่นกแขกเต้าพูดนั้น ชมเราหรือติพวกเรากันแน่ นกพูดขึ้นทันทีว่า เราไม่ได้กล่าวชมพวกท่านหรอก เพราะพวกท่านกินซากศพ ไม่ได้กินเดน ฤๅษีย้อนถามว่า พวกเราได้สละเรือน สละเพศฆราวาสออกบวช ไม่เคยไปเบียดเบียนใคร มีชีวิตอยู่ในป่าด้วยการอาศัยซากสัตว์ที่เสือเหลือง เสือโคร่งล่ามาแล้วทิ้งไว้ อาชีพของเราบริสุทธิ์ ท่านจะมาติเตียนเราได้อย่างไร
อย่าหลอกกันดีกว่า
จงมาดูดัตภาพอันวิจิตร มีกายเป็นแผล อันคุมกันอยู่แล้วกระสับกระส่าย เป็นที่ดำริของชนเป็นอันมาก ไม่มีความยั่งยืนมั่นคง
วัดพระธรรมกายบอสตัน จัดงานบุญวันอาทิตย์
วัดพระธรรมกายบอสตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้จัดงานบุญวันอาทิตย์ และพิธีถวายกองบุญต่างๆผ่านระบบออนไลน์
มงคลที่ ๑๙ งดเ้ว้นจากบาป - กลิ่นแห่งความหลุดพ้น
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงตรัสตอบติสสฤๅษีว่า ชนเหล่าใดฆ่าสัตว์ ไม่สำรวมในกามทั้งหลาย มีความเห็นว่า ทานที่บุคคล ให้แล้วไม่มีผล เป็นผู้ประทุษร้ายมิตร มีปกติไม่ให้ นี้ชื่อว่ากลิ่นดิบของชนเหล่านั้น เนื้อ และโภชนะไม่ชื่อว่าเป็นกลิ่นดิบ และสัตว์เหล่าใดขวนขวายในอกุศลกรรม ตายแล้วย่อมเข้าถึงที่มืด มีศีรษะลงตกไปสู่นรก
ข้อคิดปริศนาธรรม...พิธีกรรมงานศพ
เคาะโลง รับศีล ไม่ใช่ให้ คนตาย มารับศีล แต่เพื่อเป็นการบอกคนที่มาร่วมงานว่าเอาแต่มัวเมาประมาทขาดสติ ไม่สนใจใน หลักธรรมคำสอน เมื่อตายไปหมดโอกาสทำความดี
เราคือ..ผู้ออกแบบชีวิต
การที่เรามองโลกด้วยมุมมองแตกต่างกัน เป็นเพราะเราเกิดมาแตกต่างกัน ได้สัมผัสโลกในแง่มุมที่ต่างกัน และมีประสบการณ์ในโลกนี้ต่างกัน ซึ่งในทางพระพุทธศาสนาระบุว่า “กรรม”เป็นตัวกำหนดความแตกต่างเหล่านี้
มงคลที่ ๓๑ บำเพ็ญตบะ - ตบะธรรมชนะกิเลส
ท้าวสักกะทรงดำริว่า “ดาบสนี้มีอานุภาพมากจะทำให้เราเคลื่อนจากความเป็นท้าวสักกะ เราจะต้องร่วมมือกับพระเจ้าพาราณสี ทำลายตบะของดาบสนั้นให้ได้” ครั้นเวลาเที่ยงคืน จึงเสด็จไปยังห้องบรรทมของพระเจ้าพาราณสี แสดงอานุภาพของท้าวสักกะ พลางตรัสกับพระราชาว่า
ความต้องการของคน 6 ประเภท
ธรรมดากษัตริย์ทั้งหลาย ย่อมประสงค์โภคทรัพย์ นิยมปัญญา มั่งใจในกำลังทหาร ต้องการในการได้แผ่นดิน มีความเป็นที่สุด
ผู้ขัดขวางการสร้างบารมี
ชนเหล่าใด จักสำรวมจิต ที่ท่องไปในที่ไกลๆ เที่ยวไปดวงเดียว ไม่มีสรีระ มีถ้ำเป็นที่อาศัย ชนเหล่านั้น จะพ้นจากเครื่องผูกแห่งมาร