มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๔ ( ยักษ์จําแลง )
มนุษย์ทุกชาติทุกภาษา ล้วนปรารถนาให้โลกมีสันติสุขที่แท้จริง แต่ไม่มีใครรู้ว่า ทำอย่างไรจึงจะพบกับสันติสุขที่แท้จริง จนกระทั่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงค้นพบว่า วิธีการที่จะทำให้โลกเกิดสันติสุขที่แท้จริงนั้น จะต้องให้มนุษย์ทุกคนในโลกได้เข้าถึงสันติสุขภายในก่อน คือ พระรัตนตรัยซึ่งมีอยู่แล้วภายในตัวของมนุษย์ทุกๆ คน
108 ปี ชีวิตโลดโผน "ขุนพันธฯ"
เกาะติดสถานการณ์ธุดงค์ธรรมชัยเส้นทางพระผู้ปราบมาร ปีที่ 4 (9 มกราคม พ.ศ. 2558)
เช้าวันนี้ ลมพัดโชยเอื่อยๆ แสงแดดอ่อนๆ บรรยากาศเย็นสบาย ทำให้นึกย้อนกลับไป เมื่อ 130 ปีก่อน ที่แผ่นดินใบบัวนี้ ได้เป็นสถานที่เกิดด้วยรูปกายเนื้อของพระเดชพระคุณหลวงปู่ นับเป็นแผ่นดินอันศักดิ์สิทธิ์ที่ทำให้วันนี้ลูกหลานเหลนหลวงปู่ ถึงกับต้องหลั่งน้ำตา เพราะได้เห็นหลวงปู่คืนกลับมาด้วยรูปกายทองคำอีกครั้ง พร้อมกับคณะพระธุดงค์กองพันเนื้อนาบุญจำนวน 1,130 รูปค่ะ
วิชาของชีวิต
วิชาของชีวิต คือการศึกษาธรรมปฏิบัติฝึกในให้บริสุทธิ์หยุดนิ่ง เข้าสู่ความสุขภายในอันจะนำมาซึ่งปัญญาที่สว่างไสว และ.....
ประวัติศาสตร์วันธรรมชัย : วันแห่งชัยชนะโดยธรรม
วันธรรมชัย อธิบายความสำคัญและประวัติของหลวงพ่อธัมมชโย การบวชและกิจกรรมในวันที่ 27 สิงหาคม ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2512 ถึง 2566
วัดพระธรรมกายชอบบอกบุญถี่ๆ แถมยังเร่งให้ทำบุญก่อนจริงหรือ ? ถือว่าสอนผิดหรือไม่ ?
ก่อนจะตอบคําถามเหล่านี้ อยากให้เราลองศึกษาประวัติของพระอัญญาโกณฑัญญะ ผู้เป็นเลิศในด้านการบรรลุธรรมก่อนและได้บวชก่อนใคร ว่าท่านสร้างเหตุมาอย่างไรถึงได้เป็นเลิศด้านนี้
ประวัติหลวงพ่อธัมมชโย ตอน มาเกิดเพื่อสมานสามัคคี
หลวงพ่อธัมมชโย มีนามเดิมว่า ไชยบูลย์ สุทธิผล ถือกำเนิดเมื่อวันเสาร์ที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2487 ตรงกับวันขึ้น 1 ค่ำ เดือน 6 ปีวอก เวลา 18.00 น. ณ บ้านริมฝั่งแม่น้ำ เจ้าพระยา ต.บ้านแป้ง อ.พรหมบุรี จ.สิงห์บุรี ท่านเป็นบุตรของนายช่างใหญ่กรมโรงงาน อุตสาหกรรม นามว่า คุณพ่อจรรยงค์ สุทธิผล กับคุณแม่จุรี สุทธิผล
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ชิ้นสำคัญ คือ จารึกศิลาฉบับที่สิบสามของพระเจ้าอโศกมหาราช
ความแตกต่างระหว่าง นิสิต กับ นักศึกษา
ทศชาติชาดก เรื่อง พระมหาชนก ผู้ยิ่งด้วยวิริยบารมี ตอนที่ 1
วันนี้ เราจะได้มาศึกษาประวัติการสร้างบารมีของพระโพธิสัตว์ในอีกพระชาติหนึ่ง คือ พระมหาชนก ผู้ยิ่งด้วยวิริยบารมี คือ อุปนิสัยอันเต็มเปี่ยมด้วยความเพียร อย่างเอาชีวิตเป็นเดิมพัน หากจะถามว่า ทำไมจึงต้องทำความเพียรอย่างอุกฤษฏ์เช่นนั้น อย่างเช่น ในเรื่องพระเตมีย์ที่ผ่านมา แม้จะถูกทดลองด้วยวิธีการต่าง ๆ ทำอย่างไรพระองค์ก็ยังทรงนิ่งเฉย