เมื่อได้ฟัง พระเดชพระคุณหลวงพ่อทัตตชีโว เทศน์ในมงคลชีวิตว่า “ถ้าคนไม่มีศีลเอาไปแลกกับหมา ชาวบ้านยังไม่เอาเลย” ซึ่งก่อนหน้านั้นผมผิดศีลเกือบทุกข้อ ฟังแล้วก็ได้คิด “เอ...เรายังมีค่าน้อยกว่าสุนัขเลยเหรอ” จึงฮึด ตัดใจหักดิบทีละข้อ จนมาถึงข้อที่ยากที่สุดคือข้อ5 แล้วผมก็หยุดดื่มได้ตลอดช่วงเข้าพรรษา
World-PEC ครั้งแรกของศรีลังกา
ชาวศรีลังกาพูดกันว่า ยังไม่เคยเห็นการสอบแบบครอบครัวที่แปลกใหม่ขนาดนี้มาก่อน แต่ก็เป็นสิ่งที่พวกเขารู้สึกคุ้นเคย เพราะครอบครัวศรีลังกาอบอุ่นกันอยู่แล้ว หลายคนอาจสงสัยว่า เอ...เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น เพราะคนที่นี่เขาอยู่ด้วยกันทั้งครอบครัว ในแต่ละวัน ผู้หญิงจะอยู่บ้านทำกับข้าว ผู้ชายออกไปทำงาน ส่วนลูกๆไปโรงเรียน ตกเย็นก็มาพร้อมหน้ากัน พอถึงวันอาทิตย์จะส่งลูกๆไปโรงเรียนพุทธศาสนาแล้วมารับกลับ คนที่นี่เมื่อมาวัดก็ไม่ต้องห่วง ใส่ชุดขาวกันเกือบหมด ปฏิบัติจนเป็นเรื่องปกติและกลายเป็นวัฒนธรรมชาวพุทธที่แสนงดงาม
บริษัท Cable TV ที่ถ่ายทอดรายการช่อง DMC
ไทยคว้ารางวัลนานาชาติ ควบคุมบุหรี่
องค์กรภาคีโลกไร้ควันบุหรี่ มอบรางวัลควบคุมบุหรี่ดีเยี่ยม Global Smokefree Partnership 2008 Award – GSP Extraordinary Award หรือ จี เอส พี ประจำปี 2551 ให้ประเทศไทย ในฐานะที่สามารถปกป้องสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ได้สำเร็จ
ขอเชิญร่วมงานสัมมนาเรื่องหลักฐานธรรมกายในคัมภีร์โบราณ
ขอเชิญร่วมงานสัมมนาบูชาธรรม 70 ปี พระเดชพระคุณหลวงพ่อ พระเทพญารมหามุนี วิ. ฟังรายงานผลงานวิจัย "หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์โบราณ"
พิธีแถลงข่าวตักบาตร 10,000 รูป ถนนสีลม
องค์การยุวพุทธศานิกสัมพันธ์แห่งโลก ร่วมกับภาครัฐและเอกชน จัดแถลงข่าวตักบาตรพระ 10,000 รูป ถนนสีลม เพื่อเชิญชวนให้สื่อมวลชนร่วมประชาสัมพันธ์และทำข่าวในวันงาน
ช่อง11แตกทีวีดาวเทียม
World news ประจำวันที่ 8 มีนาคม 2556
คณะกัลยาณมิตรในประเทศเยอรมนีทั้งชาวไทย และชาวท้องถิ่น เข้าร่วมพิธีบูชาข้าวพระอาทิตย์ต้นเดือน ณ วัดพระธรรมกายบาวาเรีย วัดพระธรรมกายฮ่องกง ประเทศจีน ได้จัดพิธีบูชาข้าวพระ และพิธีทอดผ้าป่าเสริมสร้างวัดพระธรรมกายฮ่องกง
จดหมายจากตัวแทนผู้นำชาวพุทธนานาชาติ
ในวันคุ้มครองโลกปีนี้ วัดพระธรรมกายได้ต้อนรับผู้นำชาวพุทธจากทั่วโลก เพื่อให้พุทธบริษัท 4 เป็นหนึ่งเดียวกัน เหมือนดวงตะวันที่มีดวงเดียว
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก โครงการพระไตรปิฎก วัดพระธรรมกาย มุ่งมั่นสำรวจ รวบรวมคัมภีร์ใบลานจากทั้ง 4 สายจารีตหลัก คือ คัมภีร์ใบลานอักษรสิงหล อักษรพม่า อักษรขอม และอักษรธัมม์ (ล้านนา, อีสาน) และศึกษาค้นคว้าคัมภีร์ใบลานดังกล่าวตามหลักวิชาคัมภีร์โบราณ แล้วจัดทำพระไตรปิฎกฉบับวิชาการขึ้น