โทษภัยของการพนัน
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสถึงทางแห่งความเสื่อมไว้ 6 ประการ หรือที่เรียกว่า อบายมุข 6 คือปากทางแห่งความเสื่อม ทางแห่งความพินาศ เหตุย่อยยับแห่งโภคทรัพย์ ได้แก่ ดื่มน้ำเมา เที่ยวกลางคืน เที่ยวดูการละเล่น เล่นการพนัน คบคนชั่วเป็นมิตรเเละเกียจคร้านการทำงาน การพนันเป็นหนึ่งใน 6 ข้อ ที่ไม่ว่าบุคคลใดติดเเล้วจะทำให้ชีวิตตกต่ำ หาความเจริญรุ่งเรืองไม่ได้ มีคำกล่าวไว้ว่า โจรปล้น10ครั้ง ยังไม่เท่าไฟไหม้ 1 ครั้ง ไฟไหม้ 10 ครั้ง ยังไม่เท่าผีพนันเข้าสิง เพราะโจรปล้นหรือไฟไหม้อย่างมากเเค่หมดเนื้อหมดตัวเเต่ยังมีที่ดินเหลืออยู่ ทว่าถ้าติดการพนันจนโงหัวไม่ขึ้นเเล้วเเม้เเต่ที่ดิน หรือเเม้กระทั่งชีวิตของตนเองอาจจะรักษาไว้ไม่ได้ การพนันหมายถึง การเล่นชนิดหนึ่ง เพื่อเอาเงินหรือสิ่งของที่มีค่าอื่นๆด้วยการเสี่ยงโชค โดยการทำนาย หรือคาดเดาผลที่เกิดขึ้นในอนาคต
อบายมุขที่เลวร้ายที่สุด
คำถาม : ในบรรดาอบายมุขทุกอย่าง อะไรที่ถือว่าเลวร้ายที่สุดครับ
นิสัยอันตราย
นิสัยอันตราย ที่นำมาสู่ความล้มเหลวในชีวิตมีอะไรบ้าง และเราต้องปฏิบัติอย่างไร ไม่ให้เกิดนิสัยแบบนี้ขึ้น
วิบากกรรมที่ทำให้เป็นคนใบ้ บ้า ปัญญาอ่อน
ใบ้ หมายถึง ไม่สามารถพูดออกมาเป็นถ้อยคำที่คนทั่วไปเข้าใจได้ บ้า คือ อาการที่แสดงถึงความคุ้มคลั่ง สาเหตุเกิดจากความเครียด ความวิตก ความเศร้า ภาวะปัญญาอ่อน หมายถึง ภาวะที่สมองหยุดพัฒนา หรือพัฒนาไม่สมบูรณ์
วิบากกรรมที่ทำให้เป็นโรคตับ
ตับมีหน้าที่หลายอย่าง เช่น ผลิตน้ำดี เพื่อไปย่อยอาหารประเภทไขมัน กำจัดสารพิษตกค้างในร่างกาย เป็นต้น สาเหตุที่ทำให้เป็นโรคตับ เกิดจาก...
กรรมส่งผลตอนใกล้ตาย
คนมีอายุ 70-80 ปี ทำกรรมมาทั้งชีวิต รวมแล้วหลายแสนกรรม ทั้งกรรมดี กรรมชั่ว และกรรมไม่ดีไม่ชั่ว เมื่อวาระสุดท้ายมาถึง กรรรมที่ทำมาทั้งชีวิต จะมาส่งผลตามลำดับ โดยเริ่มจากกรรมหนัก กรรมใกล้ตาย กรรมที่ทำเป็นประจำ สุดท้าย คือ กรรมไม่เจตนา
คลอดก่อนกำหนดเพราะวิบากกรรมอะไร
ครรภ์เป็นที่อยู่ของทารกในวัยที่ก่อตัวเริ่มเจริญเติบโต ทารกส่วนใหญ่จะอยู่ในครรภ์โดยเฉลี่ยประมาณ 38-41 สัปดาห์แต่มีทาร
ศีล 8 คำอาราธนาศีล 8 พร้อมคำแปล
คำอาราธนาศีล 8 คำอาราธนาอุโบสถศีล พร้อมคำแปล ระยะเวลาของการรักษาอุโบสถศีล เป้าหมายหลักในการรักษาอุโบสถศีล อานิสงส์ของการรักษาอุโบสถศีล
ทำให้ถูกหน้าที่
คนพาลทั้งหลายผู้ไม่ถูกผูกมัด กล่าวขึ้นในที่ใด ย่อมถูกผูกมัดในที่นั้น ส่วนบัณฑิต แม้ถูกผูกมัดแล้ว กล่าวขึ้นในที่ใด ก็หลุดพ้นได้ในที่นั้น
กฏหมายกับกฏแห่งกรรมคุณกลัวอะไรมากกว่ากัน
กฎหมายกับกฎแห่งกรรมมีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร คนส่วนใหญ่จะเกรงกลัวกฎหมายหรือกฎแห่งกรรมมากกว่ากัน กฎหมายมีการปรับเปลี่ยนแก้ไขได้ แล้วกฎแห่งกรรมนั้นเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้หรือไม่