กิเลสพันห้า ตัณหาร้อยแปด
ดูก่อนพราหมณ์ แม่น้ำคงคานี้ ย่อมเกิดแต่ที่ใด และย่อมถึงมหาสมุทร ณ ที่ใด เม็ดทรายในระยะนี้ เป็นของไม่ง่ายที่จะกำหนดนับได้ เท่านี้ร้อยเม็ด เท่านี้พันเม็ด เท่านี้แสนเม็ด ดูก่อนพราหมณ์ กัปทั้งหลายที่ผ่านไปแล้ว ล่วงไปแล้ว มากกว่าเม็ดทรายเหล่านั้น จึงมิใช่เป็นการง่าย ที่จะกำหนดนับกัปเหล่านั้นว่า เท่านี้ร้อยกัป เท่านี้พันกัป เท่านี้แสนกัป
สิ่งที่สอนคนเราไม่ได้ก็คือสามัญสำนึก
คำคมสอนใจกับธรรมะใสๆ ที่ให้แง่คิดมุมมองดีๆ กับชีวิต สามารถนำมาใช้ในชีวิตประจำวันได้ เพื่อประโยชน์แก่ตนเองและผู้อื่น
ภพชาติที่ไม่มีที่สิ้นสุด
คำถาม : อะไรเป็นเหตุให้เกิดภพเกิดชาติที่ไม่มีที่สิ้นสุดนี้
ทำอย่างไรสังคมจะสงบสุข
วันนี้มีคุณโยมท่านนึงถามมาว่า กราบนมัสการพระอาจารย์ครับ ทำไมคนในสังคมของเราเนี่ยถึงไม่ให้อภัยกัน ทำอย่างไรจึงจะให้สังคมสงบสุขครับ
ตัณหาไม่สิ้นสุด
โลกอันตัณหาย่อมนำพาไป อันตัณหาย่อมผลักไสไป โลกทั้งหมดเป็นไปตามอำนาจของธรรมอย่างหนึ่ง คือตัณหา บัณฑิตพึงรู้โทษของตัณหาว่า เป็นเหตุให้เกิดทุกข์ พึงเป็นผู้ปราศจากตัณหา ไม่ถือมั่น มีสติอยู่ทุกเมื่อ
ศีลภรตคืออะไร ต่างจากศีลห้าอย่างไร? - หลวงพ่อตอบปัญหา
ศีลภรตคืออะไร ต่างจากศีลห้าอย่างไร?,การรักษาศีลแปดคือการประพฤติพรหมจรรย์ ถ้ารักษาศีลข้อสามได้ดี ข้ออื่นเช่น ข้อหก เจ็ด แปด ไม่ต้องรักษาก็ได้ ใช่หรือไม่?,ทำไมต้องนั่งสมาธิ? สมาธิดีอย่างไร?
วิธีตัดเหตุแห่งทุกข์
ตัณหาทำให้คนเกิด จิตของผู้มีตัณหาย่อมซัดส่ายไปมา หมู่สัตว์มัวท่องเที่ยวอยู่ในสังสารวัฏ ทุกข์เป็นภัยใหญ่ของเขา
มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - ละตัณหาได้ ไม่ต้องเกิดอีก
ครั้นพระบรมศาสดาทรงแก้ปัญหาจบลงแล้ว พราหมณ์ได้เพียงดวงตาเห็นธรรม ไม่ได้บรรลุอรหัตผล ได้บรรลุเพียงโสดาปัตติผลเท่านั้น เพราะเวลาฟังพยากรณ์ปัญหา มีจิตฟุ้งซ่าน คิดถึงลุงผู้เป็นอาจารย์ว่า ลุงของเราหาได้มีโอกาสฟังพระธรรมเทศนาอันลึกซึ้งไพเราะอย่างนี้ไม่ อาศัยความกังวลที่มีจิตฟุ้งซ่าน เพราะความรักใคร่ในลุง จึงไม่อาจทำให้สิ้นอาสวะในตอนนั้นได้
มงคลที่ ๑๐ มีวาจาสุภาษิต - ราชฑูตรับใช้ตัวเอง
ตัณหาความทะยานอยาก เป็นสาเหตุของความทุกข์ เมื่ออยากได้ อยากมี อยากเป็น ก็ต้องแสวงหา และในการแสวงหา กว่าที่จะให้ได้มาซึ่งสิ่งที่ต้องการนั้น ไม่ใช่เรื่องง่าย ต้องฝ่าฟันอุปสรรคมากมาย ต้องคอยแก้ไขปัญหาสารพัด บางทีจะได้อะไรมาสักอย่างหนึ่ง เลือดตาแทบกระเด็น บางอย่างต้องเอาชีวิตเข้าแลกจึงจะได้มา เหมือนอย่างเรื่องของบุรุษคนหนึ่ง ที่ทั้งน่าทึ่งและน่าประหลาดใจ
มิตตวินทุกชาดก-ชาดกว่าด้วยโทษผู้ลุอำนาจความปรารถนา
ครั้งหนึ่งเมื่อสมเด็จพระพุทธศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าเทศนาข้อตัณหาอันเป็นสิ่งกว้างขวางไร้ขอบเขตจำกัด ณ พระเชตะวันมหาวิหารในนครหลวงแห่งมคธรัฐ พุทธวัจนในพระธรรมบทนี้ได้รับการจดจำต่อๆ กันว่าชนเหล่าใดมากำหนัดยินดีตัณหานั้น ชนเหล่านั้นก็เช่นผู้ถูกจักรกรดไว้