ต้นพระศรีมหาโพธิ์เดิมชื่อว่าต้นอะไร?
ต้นพระศรีมหาโพธิ์ เดิมชื่อว่าต้น “อัสสัตถพฤกษ์” แต่ที่เรียกกันว่าต้นพระศรีมหาโพธิ์เพราะพระโพธิสัตว์ตรัสรู้ใต้ต้นไม้ชนิดนี้
วันพระที่ศรีลังกา
อาจจะมีคนคิดว่า การเข้าวัดฟังธรรมเป็นเรื่องของสว. (สูงวัย) แต่ชาวศรีลังกาไม่คิดเช่นนั้น เพราะลูกเด็กเล็กแดงในประเทศนี้ จะตามพ่อ-แม่ไปวัดตั้งแต่ยังเป็นทารก รวมทั้งยังถืออุโบสถศีลตามพ่อ-แม่ด้วย โดยเด็กๆจะถือศีลแปดจนถึงเวลา 6โมงเย็นของทุกวันพระ แม้เมื่อย่างเข้าสู่วัยรุ่น ก็จะไปวัดกับเพื่อนๆ
ขอเรียนเชิญร่วมงาน “วันเยาวชนแห่งชาติ” ณ ศาลาประชาคมหน้าอุโบสถวัดพระธรรมกาย
ขอเรียนเชิญร่วมงาน “วันเยาวชนแห่งชาติ ประจำปี ๒๕๕๙” ในวันอังคารที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๙ บริเวณศาลาประชาคมหน้าอุโบสถ วัดพระธรรมกาย
ม้ากัณฐกะ มีความสำคัญอย่างไร
ม้ากัณฐกะเป็นม้าพระที่นั่งของเจ้าชายสิทธัตถะ เป็นม้าสหชาติ คือ เกิดวันเดียวกับเจ้าชายสิทธัตถะ
ถวายภัตตาหารครั้งใด มีอานิสงส์ยิ่งใหญ่ที่สุด?
นางสุชาดาได้นำข้าวมธุปายาสใส่ถาดทองมาถวายด้วยความเคารพเลื่อมใสในลักษณะ มหาบุรุษที่สง่างามมีผิวพรรณผุดผ่องเหมือนดั่งเทวดา ข้าวมธุปายาสของนางเป็นพระกระยาหารของพระบรมโพธิสัตว์ก่อนตรัสรู้
ทำไมพราหมณ์โกณฑัญะบรรลุธรรมก่อนใครๆ?
พระอัญญาโกณฑัญญะเดิมคือพราหมณ์ที่ทำนายว่า..เจ้าชายสิทธัตถะจะได้ตรัสรู้ เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าอย่างแน่นอนท่านหนึ่งในปัญจวัคคีย์ที่อุปัฏฐากพระ บรมโพธิสัตว์ขณะที่ทรงบำเพ็ญทุกรกิริยาเป็นมนุษย์คนแรกที่ได้บรรลุธรรมเป็นพระโสดาบัน และเป็นพระภิกษุรูปแรกในพระพุทธศาสนา
วัดพระธรรมกายยามานาชิ จัดพิธีบูชาข้าวพระ
วัดพระธรรมกายยามานาชิ ประเทศญี่ปุ่น ได้จัดพิธีบูชาข้าวพระ และพิธีถวายคิลานเภสัช
พิธีอัญเชิญพระศรีมหาโพธิ์จากประเทศศรีลังกา มาประดิษฐาน ณ วิหาร Bodhi Dhamma
วัดพระธรรมกายเมลเบิร์น ร่วมกับชุมชนชาวพุทธในรัฐวิคทอเรีย ประเทศออสเตรเลีย จัดพิธีอัญเชิญพระศรีมหาโพธิ์จากประเทศศรีลังกา มาประดิษฐาน ณ วิหาร Bodhi Dhamma
พระปัญจทีปทายิกาเถรี กับอานิสงส์บูชาพระเจดีย์จึงมีทิพยจักษุ
ประวัติการสร้างและบูชาพระเจดีย์ของพระปัญจทีปทายิกาเถรี ในกาลก่อนว่าท่านทำอย่างไร และผลบุญที่พระปัญจทีปทายิกาเถรีท่านได้รับเป็นอย่างไร ..
พิธีถวายองค์พระธรรมกาย
เมื่อเวลาอันสำคัญได้มาถึง พระเดชพระคุณหลวงพ่อทัตตชีโวเริ่มกล่าวคำมอบองค์พระเป็นภาษาอังกฤษ พร้อมทำพิธีมอบถวายองค์พระให้แก่ท่านประธานาธิบดี แห่งศรีลังกา ฯพณฯ มหินทะ ราชปักษา ท่ามกลางบรรยากาศที่ชื่นมื่นของชาวพุทธศรีลังกา และเป็นจุดสถาปนาความสัมพันธ์อันเหนียวแน่น ในวิถีแห่งชาวพุทธของทั้งสองประเทศสืบไป