มรณภาพและละสังขาร: ความหมายและความแตกต่างในบริบททางพระพุทธศาสนา
บทความนี้กล่าวถึงความหมายและความแตกต่างของคำว่า 'มรณภาพ' และ 'ละสังขาร' ในบริบททางพระพุทธศาสนา เพื่อแสดงถึงความเคารพและเกียรติยศต่อผู้ล่วงลับ
ขอเชิญพุทธศาสนิกชนร่วมสวดมนต์ออนไลน์ วันอาทิตย์ที่ 31 มกราคม พ.ศ.2564
ขอเชิญพุทธศาสนิกชนร่วมสวดมนต์ออนไลน์ ผ่านระบบ ZOOM เพื่อความเป็นสิริมงคล รวมบุญรวมใจ ต้านภัยโควิด-19 วันอาทิตย์ที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2564 เริ่มเวลา 18.20 น.
รวมบทสวดมนต์ข้ามปี
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร (๒)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ทางสุดโต่งสองอย่างบรรพชิตไม่ควรเสพ คือ การทรมานตัวเองให้ลำบากและการประกอบพัวพันในกาม
ธรรมกายคือหลักของชีวิต
เมื่อใดบัณฑิตย่อมเห็นด้วยปัญญาว่า สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง เมื่อนั้นเขาย่อมหน่ายในทุกข์ นี้เป็นทางแห่งความหมดจด
๔๐ วิธี เพื่อเข้าถึงพระธรรมกาย
ผู้ใดแล มีศรัทธาตั้งมั่นเกิดขึ้นแล้วแต่ รากแก้วคืออริยมรรค ประดิษฐานมั่นคง อันสมณพราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรือผู้ใดผู้หนึ่งในโลก ไม่พรากไปได้ ควรเรียกผู้นั้นว่า เป็นบุตรเกิดแต่พระอุระ เกิดแต่พระโอฐของพระผู้มีพระภาค เป็นผู้เกิดแต่พระธรรม เป็นผู้ที่พระธรรมเนรมิตขึ้น เป็นผู้รับมรดกพระธรรม ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะคำว่า ธรรมกาย ก็ดี ว่าพรหมกาย ก็ดี ว่าธรรมภูต ก็ดี ว่า พรหมภูต ก็ดี เป็นชื่อของตถาคต
กายแห่งการตรัสรู้ธรรม
ในกาลใดแล ธรรมทั้งหลาย มาปรากฏแก่พราหมณ์ผู้มีความเพียรเพ่งอยู่ ในกาลนั้น พราหมณ์ย่อมกำจัดมาร และเสนามารเสียได้ ดุจพระอาทิตย์กำจัดความมืด ส่องสว่างอยู่ในอากาศ ฉะนั้น
ที่พึ่งที่แท้จริง
จงมีตนเป็นเกาะ มีตนเป็นที่พึ่ง สิ่งอื่นไม่ใช่ จงมีธรรมเป็นเกาะ มีธรรมเป็นที่พึ่ง สิ่งอื่นไม่ใช่
บทสวดธัมมจักกัปปวัตตนสูตร พร้อมคำแปล
บทสวดธัมมจักกัปปวัตตนสูตร (พร้อมคำแปล)
กระแสแห่งกรรม (๒)
ภิกษุทั้งหลาย โลสกติสสะผู้นี้ ได้ประกอบกรรมคือ ความเป็นผู้มีลาภน้อย และความเป็นผู้ได้อริยธรรมของตนด้วยตนเอง เนื่องด้วยครั้งก่อนเธอกระทำอันตรายลาภของผู้อื่น จึงเป็นผู้มีลาภน้อย แต่เป็นผู้บรรลุอริยธรรมได้ด้วยผลที่บำเพ็ญวิปัสสนา คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา