มงคลที่ ๒๗ มีความอดทน - ขันติและเมตตาพาสู่ดุสิตบุรี
พระราชาเห็นพระนางแสดงความรักต่อพระกุมารมากถึงเพียงนั้น ก็ยิ่งอิจฉา และโกรธเคืองยิ่งขึ้น จึงตรัสว่า “ท่านอย่าชักช้า จงตัดมือตัดเท้าทั้งสองเสีย” เพชฌฆาตก็สับมือตัดเท้าทั้งสองของพระกุมารด้วยขวานอันคมกริบ ธรรมบาลกุมารแม้จะถูกตัดมือตัดเท้าก็ไม่ร้องไห้ ทรงอดกลั้นต่อทุกขเวทนา ด้วยขันติธรรมและเมตตาธรรม
ประเพณีวันสงกรานต์ สงกรานต์ประเพณีไทย
ประเพณีสงกรานต์ไม่ได้มีเพียงในประเทศไทยเท่านั้น ตำนานเรื่องเล่าเกี่ยวกับวันสงกรานต์ ความสำคัญของประเพณีสงกรานต์
มงคลที่ 37 - จิตปราศจากธุลี - ธรรมรักษาผู้ประพฤติธรรม
พระอุปัชฌาย์จึงเข้าฌานสมาบัติ อธิษฐานให้แผ่นดินแยกออกจากกัน แล้วนำไฟจากอเวจีมหานรกมาเพียงเล็กน้อย แค่เท่าแสงหิ่งห้อย มาใส่ที่กองไม้นั้น เพียงชั่วพริบตา กองไม้สดนั้นก็มอดไหม้หมด เหมือนจุดไฟเผาใบไม้แห้ง ฉะนั้น
ธรรมกาย กายแห่งการตรัสรู้ธรรม
ธรรมกาย คือ กายแห่งการตรัสรู้ธรรม คำว่า “ธรรมกาย” มีปรากฏหลักฐานทั้งในพระไตรปิฎก และคัมภีร์สำคัญๆ ในพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทของเราหลายแห่ง พุทธรัตนะ คือ ธรรมกาย ธรรมรัตนะ คือ ธรรมทั้งหลายที่กลั่นจากหัวใจธรรมกาย สังฆรัตนะ คือ ดวงจิตของธรรมกาย
ธรรมกายคือหลักของชีวิต
เมื่อใดบัณฑิตย่อมเห็นด้วยปัญญาว่า สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง เมื่อนั้นเขาย่อมหน่ายในทุกข์ นี้เป็นทางแห่งความหมดจด
ธรรมกาย ในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาทยุคต้น
“ธรรมกาย” เป็นคำที่คุ้นเคยกันดีในหมู่ชาวพุทธ แต่ความหมายของธรรมกายในใจของชาวพุทธแต่ละกลุ่มอาจไม่เหมือนกัน เมื่อความเข้าใจเรื่องธรรมกายในหมู่ชาวพุทธแตกต่างกันอย่างนี้ จึงน่าศึกษาว่า คำว่า “ธรรมกาย” ในคำสอนเก่าแก่ที่เก็บรักษาไว้โดยชาวพุทธในแต่ละท้องถิ่นนั้นเป็นอย่างไร....
ความหมายของกายในคำว่าธรรมกาย ตอนที่ 2
นอกจากธรรมกายของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าและพระปัจเจกพุทธเจ้าแล้ว ในพระไตรปิฎกบาลียังกล่าวถึงธรรมกายของพระพุทธสาวกด้วยดังที่ปรากฏในมหาปชาบดีโคตมีเถรีอปทาน อันเป็นถ้อยคำที่พระมหาปชาบดีโคตมีเถรีกราบทูลลาพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเพื่อเสด็จปรินิพพาน
มงคลที่ 38 - จิตเกษม - ปล่อยวางอย่างพระอริยะ
พระบรมศาสดาประทับยืนที่เหนือศีรษะของท่าน ตรัสให้เห็นทุกข์เห็นโทษของสังขารร่างกายนี้ว่า "กายของเธอนี้อยู่อีกไม่นาน เพราะจะปราศจากวิญญาณแล้ว หาอุปการะมิได้ อีกไม่นานต้องนอนบนแผ่นดิน เหมือนท่อนไม้ที่ไม่มีประโยชน์"
มงคลที่ ๓๑ บำเพ็ญตบะ - โลกตระการของคนเขลา
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงอนุปุพพิกถา คือ ตรัสถึงการให้ทานว่าเป็นสิ่งที่ควรทำ เพราะเป็นการขจัดความตระหนี่ออกจากใจ จะได้เป็นบุญกุศลติดตัวข้ามภพข้ามชาติ เกิดมากี่ภพกี่ชาติจะได้ไม่ต้องลำบากในการทำมาหากิน จะได้สร้างบารมีได้อย่างสะดวกสบาย แล้วจึงตรัสเรื่องการรักษาศีล ซึ่งเป็นบ่อเกิดแห่งคุณความดีทั้งมวลที่จะทำให้มีความสุข ความบริสุทธิ์ทั้งในโลกนี้และโลกหน้า
ธรรมกาย กายมาตรฐาน
สรีรยนต์นี้ ถูกกรรมปรุงแต่งทำให้เป็นนครแห่งกระดูกทั้งหลาย ฉาบด้วยเนื้อและโลหิต เป็นที่ตั้งลงแห่งชรา มรณะ มานะ และมักขะ