การดูแลสุขภาพกายและสุขภาพใจให้เหมาะสมแก่การฝึกสมาธิและเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงธรรม
ร่างกายของเรานี้ประกอบด้วยธาตุสี่ที่ไม่บริสุทธิ์จึงเสื่อมสลายตลอดเวลา ทำให้ต้องหา ธาตุสี่จากภายนอกมาเติมเข้าไปอยู่เรื่อย ๆ ไม่มีสิ้นสุด ดังที่เราต้องประกอบกรรมต่าง ๆ เพื่อการเติมธาตุสี่ แต่กายนั้นก็ทำกรรมตามที่ใจของเราเป็นตัวสั่งการ ส่วนของใจทำหน้าที่รู้และคิด ส่วนของกายพูดและทำ
คณะสงฆ์ธุดงคสถานชัยบาดาล จัดอบรมศีลธรรมแก่นักเรียนโรงเรียนวัดหนองนา
คณะสงฆ์ธุดงคสถานชัยบาดาล ได้จัดอบรมศีลธรรม และได้บรรยายธรรมะแก่นักเรียนโรงเรียนวัดหนองนา จังหวัดลพบุรี
วัดพระธรรมกายจอร์เจีย จัดงานบุญวันอาทิตย์
วัดพระธรรมกายจอร์เจีย ประเทศสหรัฐอเมริกา จัดงานบุญวันอาทิตย์ และพิธีจุดเทียนใจไฟนิรันดร์อนันตชัย
คณะสงฆ์ธุดงคสถานชัยบาดาล จัดอบรมศีลธรรมแก่นักเรียนโรงเรียนอนุบาลท่าหลวง
คณะสงฆ์ธุดงคสถานชัยบาดาล ได้จัดอบรมศีลธรรม และได้บรรยายธรรมะแก่นักเรียนโรงเรียนอนุบาลท่าหลวง จังหวัดลพบุรี
ชพส.จัดปฏิบัติธรรมคณะผู้บริหาร สพท.สุพรรณบุรี เขต 2
ชมรมพุทธศาสตร์สากลในอุปถัมภ์สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ ได้จัดปฏิบัติธรรมคณะผู้บริหารสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2
พิธีมอบปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิต กิตติมศักดิ์ สาขาภาษาไทย แด่พระพรหมวชิรญาณ กรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าอาวาสวัดยานนาวา
เชื่อไม่เชื่อ..กับศาสตร์ลับในธรรมะ..ช่วยสร้างเสน่ห์ให้คนรักคนชอบ..มาบอก
กฐินทาน กาลทานที่มีผลานิสงส์มาก
คำสอนในพระพุทธศาสนากล่าวว่า “ทาน” หรือ “การให้” เป็นความดีที่เป็นสัมมาทิฐิเบื้องต้นของมนุษย์ทุกคน เพราะทั้งการให้ การแบ่งปัน หรือการสงเคราะห์ ล้วนเป็นคุณธรรมที่เกื้อกูลกันระหว่างชีวิตต่อชีวิต เป็นพื้นฐานความดีที่จะช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีความเจริญก้าวหน้าต่อไป ดังเช่น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าในครั้งยังสร้างบารมี กว่าพระองค์จะทรงประสบความสำเร็จขั้นสูงสุดในชีวิต คือการตรัสรู้ธรรม พระองค์ก็ทรงอาศัยการทำทานเป็นจุดเริ่มต้นของการสั่งสมความดี
เมณฑกเศรษฐีผู้ใจบุญ (๓)
ทาน ผู้ให้ให้ได้ยาก เพราะต้องครอบงำความตระหนี่ก่อนแล้วจึงให้ได้ การทำทานนั้น เป็นสิ่งที่ทำได้ยากโดยแท้ อสัตบุรุษทั้งหลายย่อมไม่ทำทานตามที่สัตบุรุษทำแล้ว เพราะเหตุนั้น การไปจากโลกนี้ของสัตบุรุษกับอสัตบุรุษจึงต่างกัน อสัตบุรุษย่อมไปนรก สัตบุรุษย่อมไปสวรรค์
ความหมายของกายในคำว่าธรรมกาย
คำว่า ธรรมกาย เป็นศัพท์สมาส ที่อาจแปลเป็นคำคุณศัพท์ว่า ผู้มีธรรมเป็นกาย หรืออาจแปลเป็นคำนามก็ได้ว่า กายแห่งธรรม กายคือธรรมหรือ กายที่ประกอบด้วยธรรม