เนมิราชชาดกบําเพ็ญอธิษฐานบารมี(9)
ชนเหล่าใด เมื่อของมีน้อยก็แบ่งให้ เหมือนพวกเดินทางไกล ย่อมแบ่งของให้แก่พวกที่เดินทางร่วมกัน ชนเหล่านั้น เมื่อชนอื่นตายแล้ว ก็ชื่อว่าย่อมไม่ตาย ธรรมนี้เป็นของบัณฑิตแต่ปางก่อน ชนพวกหนึ่งเมื่อของมีน้อยก็แบ่งให้ ชนพวกหนึ่งมีของมากก็ไม่ให้ ทักษิณาที่ให้แต่ของน้อย นับเสมอด้วยพัน
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - แรงบันดาลใจ ( ๒ )
พระราชาพระองค์หนึ่ง ทรงพระนามว่า นัคคชิ พระองค์ทรงทอดพระเนตรเห็นหญิงคนหนึ่งที่สวมกำไลแก้วมณี แล้วทรงดำริว่า กำไล แขนนี้ เมื่ออยู่ข้างละอันไม่กระทบกัน ครั้นเมื่อย้ายมาอยู่รวมกันจึงกระทบกัน สัตว์ทั้งหลายก็เช่นเดียวกัน หากแยกกันอยู่จะไม่ส่งเสียง ไม่ทำร้ายกัน เมื่อมี ๒ คน หรือ ๓ คนขึ้นไป จะกระทบกระทั่งกัน มีการทะเลาะวิวาททำร้ายกันเป็นต้น
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - ไม่ควรประมาทในชีวิต
พระเจ้าปเสนทิโกศลได้เสด็จไปเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า พลางทูลถามพระผู้มีพระภาคเจ้าถึงเรื่องราวต่างๆ ของมนุษย์ว่า ทำไมอายุของมนุษย์ในแต่ละยุคแต่ละสมัย มีความสั้นยาว ไม่เท่ากัน บาง ยุคมนุษย์มีอายุตั้ง ๘๐,๐๐๐ ปี และทำไมบางยุค อายุของมนุษย์สั้นเหลือเพียง ๑๐ ปี พระพุทธเจ้าทั้งหลายในอดีต จะนิยมลงมาอุบัติในโลกมนุษย์ ในยุคที่มนุษย์มีอายุยืนยาวสักเท่าใด
พระพุทธคุณ ตอน ผู้รู้แจ้งโลก
บุคคลใดมีความเพียร ข่มขี่มาร ครอบงำมัจจุราชได้แล้ว ได้ถูกต้องธรรมอันเป็นที่สิ้นการเกิด บุคคลเช่นนั้นย่อมเป็นผู้รู้แจ้งโลก เป็นผู้มีปัญญาดี เป็นมุนี ผู้หมดความทะยานอยากในธรรมทั้งปวง
กระแสแห่งกรรม (๒)
ภิกษุทั้งหลาย โลสกติสสะผู้นี้ ได้ประกอบกรรมคือ ความเป็นผู้มีลาภน้อย และความเป็นผู้ได้อริยธรรมของตนด้วยตนเอง เนื่องด้วยครั้งก่อนเธอกระทำอันตรายลาภของผู้อื่น จึงเป็นผู้มีลาภน้อย แต่เป็นผู้บรรลุอริยธรรมได้ด้วยผลที่บำเพ็ญวิปัสสนา คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
อานิสงส์ทำบุญถูกเนื้อนาบุญ
บุคคลควรนำสมบัติออกด้วยการให้ทาน เพราะสิ่งที่ให้แล้วได้ชื่อว่านำออกดีแล้ว ทานวัตถุที่บุคคลให้แล้วนั้น ย่อมมีสุขเป็นผล ส่วนที่ยังไม่ได้ให้ ย่อมไม่เป็นเหมือนอย่างนั้น
พระพุทธคุณ ตอน ผู้เป็นครูของมนุษย์และเทวา
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงได้พระนามว่า สตฺถา เทวมนุสฺสานํ คือ ทรงเป็นบรมครูของเทวดา และมนุษย์ทั้งหลาย เพราะตั้งแต่แรกที่ทรงสร้างบารมี พระองค์ทรงมีมหากรุณาธิคุณ ตั้งความปรารถนาที่จะนำพาสรรพสัตว์ทั้งหลาย ให้หลุดพ้นจากกองทุกข์ไปสู่พระนิพพาน
ต้นบัญญัติมารยาทไทย ตอน บ่อเกิดของมารยาทไทย
เรามักเข้าใจกันว่า มารยาทเป็นเรื่องของการปรับตัวให้เข้ากับสังคมเพื่อความงดงามน่าดู เพื่อการยอมรับเข้าเป็นหมู่คณะเท่านั้น แต่แท้จริงแล้วมีเรื่องเบื้องหลังลึกซึ้งเกี่ยวกับต้นบัญญัติมารยาทที่เรายอมรับกันอยู่ในปัจจุบันนี้...
ปชาบดีเถรี ผู้รัตตัญญู (๑)
ในที่ใด ไม่มีความแก่หรือความตาย ไม่มีการสมาคมด้วยสัตว์และสังขารอันไม่เป็นที่รัก ไม่มีการพลัดพรากจากสัตว์และสังขารอันเป็นที่รัก ที่นั้นนักปราชญ์กล่าวว่าเป็นอสังขตสถาน
นม+น้ำอัดลม = สูญ