ส่องธรรม ล้ำภาษิต : ไม่ละทิ้งธรรม
บัณฑิตย่อมไม่ประพฤติกรรมชั่ว เพราะเหตุแห่งสุขตน สัตบุรุษอันทุกข์ถูกต้อง แม้พลาดพลั้งไป ก็ไม่ยอมละธรรม เพราะฉันทาคติและโทสาคติ
ส่องธรรม ล้ำภาษิต : อยากได้ลูกดี
เป็นธรรมดาที่บิดามารดาปรารถนาได้ลูกดี ๆ ลูกที่ดีกว่าบิดามารดาเรียก อภิชาตบุตร ลูกที่เสมอบิดามารดาเรียก อนุชาตบุตร ลูกที่แย่กว่าบิดามารดาเรียก อวชาตบุตร
บัณฑิตรู้ข้อแตกต่าง ระหว่างความประมาทกับความไม่ประมาท
บัณฑิตรู้ข้อแตกต่าง ระหว่างความประมาทกับความไม่ประมาท จึงยินดีในความไม่ประมาท อันเป็นแนวทางของพระอริยะ
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - แม้เป็นเทวดาก็อย่าประมาท
วลาในโลกนี้แสนสั้น เดี๋ยววันเดี๋ยวคืน ยังไม่ทันได้สั่งสมบุญให้เต็มอิ่ม ความชราก็เข้ามาเยือนแล้ว บางคนเกิดมายังไม่ทันได้สั่งสมบุญ กรรมในอดีตก็มาตัดรอนเสียก่อน ทำให้มีเหตุที่ต้องละสังขารไปก่อนถึงเวลาอันควร ดังนั้น เราจึงไม่ควรประมาทในชีวิต ให้เห็นคุณค่าของเวลาแต่ละนาทีที่ผ่านไป โดยมีสติเตือนตนเสมอว่า เราจะไม่ประมาท โดยเฉพาะไม่ประมาทในการประพฤติธรรม
เดินตามทางของบัณฑิต ตอนที่ ( ๙ )
โจรนำของไปอยู่ย่อมถูกห้าม แต่สมณะนำไปกลับเป็นที่รัก สมณะมาหาบ่อยๆ บัณฑิตย่อมยินดีต้อนรับ
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - โทษที่ไม่มีโทษ
การที่เราจะเป็นผู้ปกครองที่ดี จะต้องรู้จักสอนคนในปกครองให้เป็นคนดี ให้เขาโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ ที่มีคุณภาพ คือให้มีความรู้คู่คุณธรรม ครูบาอาจารย์ที่ดีก็เช่นกัน ต้องหมั่นตักเตือนสั่งสอนให้ศิษย์เป็นคนดี คอยประคับประคองให้ลูกศิษย์ดำเนินไปในเส้นทางที่ถูกต้อง ถูกทำนองคลองธรรม โดยไม่กลัวภัยที่จะเกิดขึ้นกับตน
มงคลที่ ๑๑ บำรุงบิดามารดา - ฝ่าเท้ามารดา หนทางพาสู่สวรรค์
ในสมัยที่พระองค์เสวยพระชาติเป็นช้างเผือก ที่มีความ กตัญญู มีบริวารถึง ๑๐๐,๐๐๐ เชือก สามารถปกครองช้างทั้งหมดให้อยู่กันอย่างมีความสุข มารดาของท่านตาบอด ไม่สะดวกในการหาอาหารด้วยตนเอง ในคืนวันหนึ่ง พญาช้างโพธิสัตว์จึงพามารดาไปอยู่ในถ้ำที่เชิงเขาตามลำพัง คอยหาน้ำ หาอาหารมาเลี้ยงดูแลท่านด้วยความกตัญญู
ทวยเทพสดับธรรม
บัณฑิตทั้งหลาย ฟังธรรมแล้ว ย่อมเป็นผู้มีจิตผ่องใส เหมือนห้วงนํ้าที่มีความลึก เป็นห้วงนํ้าใสสะอาด ไม่มีความขุ่น ฉะนั้น
การเจริญมรณานุสติ
ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ ทั้งคนโง่และคนฉลาด ทั้งคนจนและคนรวย ล้วนบ่ายหน้าไปหามฤตยูทั้งสิ้น
มงคลที่ ๑๒ เลี้ยงดูบุตร - น้ำใสใจจริง จากมารดา
สามเณรได้ฟังความในใจและรับรู้ถึงความปรารถนาอัน บริสุทธิ์ของโยมมารดา ก็เกิดความสลดสังเวชใจที่ตนต้องตกอยู่ใต้อำนาจกิเลส จึงกลับได้สติมีหิริโอตตัปปะ รีบบอกโยมแม่ว่า "สามเณรไม่สึกแล้ว จะขอบวชตลอดชีวิต"