วัดฝอกวงซาน จัดพิธีสดุดีพระคุณพระธรรมาจารย์ซิงหวินต้าซือ
วัดฝอกวงซาน ได้จัดพิธีสดุดีพระคุณ "พระธรรมาจารย์ซิงหวินต้าซือ" ผู้สืบทอดนิกายหลินจี้ลำดับที่ 48 เจ้าอาวาสผู้สถาปนาวัดฝอกวงซาน
หลักการสำคัญของพระพุทธศาสนาจะนำไปใช้ในการบริหารประเทศศรีลังกา
Kalmykia :- The only Buddhist republic in Europe
The president of Republic of Kalmykia gave a speech in V-Star day. He is impressed with this historic event and will introduce the V-star project to the youths in Kalmykia.
ปกบ้านครองเมือง และ ทำมาค้าขาย ของประเทศสิงคโปร์
ปกบ้านครองเมือง สิงคโปร์แยกตัวออกจากสหพันธ์มาเลเซีย มาเป็นสาธารณรัฐสิงคโปร์เมื่อปี พ.ศ. 2508 รูปแบบการปกครองคือประชาธิปไตยแบบรัฐสภา โดยมีประธานาธิบดีเป็นประมุข มีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้ารัฐบาล และมีรัฐธรรมนูญ เป็นกฎหมายสูงสุด
กรณีศึกษากฎแห่งกรรม บุญใดส่งผลให้เป็นผู้นำ
เรื่องราวน่าศึกษาของประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐคาลมิเกีย บุญใดส่งผลให้ท่านได้เกิดมาเป็นผู้นำ วิบากกรรมใดทำให้ท่านต้องเคยทำงานหนัก
ปกบ้านครองเมือง ประเทศฟิลิปปินส์
ปกบ้านครองเมือง หลังจากตกเป็นเมืองขึ้นของประเทศสเปนมากว่า 300 ปี และตกอยู่ภายใต้การปกครองของสหรัฐอเมริกาอีกประมาณ 50 ปี ฟิลิปปินส์ก็ได้รับเอกราชจากการทำสนธิสัญญากับสหรัฐอเมริกาในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง และเมื่อสงครามสิ้นสุดลง ฟิลิปปินส์ก็ได้รับเอกราชอย่างเป็นทางการในวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2489
ทำไมต้องทำบุญ 7 วัน 50 วัน และ 100 วัน
ประวัติศาสตร์แห่งการฟื้นฟูพระพุทธศาสนา ณ ดินแดนประสูติ
"การฟื้นฟูพุทธศาสนาในเนปาล เราสามารถร่วมมือร่วมใจกันทำให้เกิดขึ้นได้" จึงได้เกิดโครงการบวช 1,112 รูป ขึ้นเป็นครั้งแรกของประเทศเนปาล
การทำบุญ 7 วัน กับ 100 วัน
คำถาม : การทำบุญ 7 วัน กับ 100 วัน หลังจากที่เสียชีวิตมีความแตกต่างกันอย่างไรค่ะ
ปกบ้านครองเมือง ประเทศอินโดนีเซีย
ปกบ้านครองเมือง เรื่องเล่าแต่ก่อน ในอดีตหมู่เกาะต่างๆ ประกอบด้วยหลากรัฐ แต้รัฐมีระบบการปกครองและมีประมุขของตนเอง ส่วนใหญ่มักค้าขายเครื่องเทศเป็นสินค้าสำคัญ ชาวอาหรับเป็นชาติแรกๆ ที่เดินทางมาค้าขายที่เกาะสุมาตรา และนำเอาศาสนาอิสลามมาเผยแผ่ ต่อมาในปี พ.ศ. 2164 ฮอลันดายึดครองอินโดนีเซีย โดยตั้งบริษัท United Dutch East India Company ขึ้นที่หมู่เกาะอินเดียตะวันออก นอกจากจุดประสงค์เพื่อทำการค้าแล้ว ยังทำหน้าที่แสวงหาอาณานิคมให้แก่ฮอลันดาด้วย จนกระทั่งในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง กองทัพญี่ปุ่นได้เข้ามายึดครองอินโดนีเซีย ล้มรัฐบาลอาณานิคมของฮอลันดา ไม่นานหลังจากญี่ปุ่นแพ้สงคราม ฮอลันดาพยายามกลับมาปกครองอินโดนีเซียเหมือนเดิม ชาวอินโดนีเซียภายใต้การนำของ ดร.ซูการ์โนและ ดร. โมฮัมหมัด ฮัตตา จึงรีบร่วมกันประกาศอิสรภาพเมื่อวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2488 (รวมระยะเวลาตกอยู่ใต้อาณานิคมกว่า 300 ปี