ขอเชิญร่วมสวดมนต์ ปฏิบัติธรรม ฟังธรรม ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (เทคโนฯบางมด)
ขอเชิญ สั่งสมบุญ สร้างบารมี “บุญ อยู่เบื้องหลังความสุขและความสำเร็จ” ร่วมสวดมนต์ ปฏิบัติธรรม ฟังธรรมจากพระอาจารย์ ทุกวันพฤหัสบดี เวลา 17.30 – 20.00 น.
พิธีถวายผ้าอาบน้ำฝนและประทีปโคมไฟ เนื่องในวันอาสาฬหบูชา พ.ศ. 2566
พิธีถวายผ้าอาบน้ำฝนและประทีปโคมไฟ เนื่องในวันอาสาฬหบูชา วันอังคารที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2566 (เวลา 09.30 น.) ณ วัดพระธรรมกาย จ.ปทุมธานี
ผู้มีปัญญา
ปัญญา หมายถึง ความฉลาด ความรอบรู้ ความเข้าใจชัดในสิ่งต่างๆ ผู้มีปัญญาย่อมรู้จักผิดชอบชั่วดี รู้จักบาปบุญคุณโทษ รู้จักเหตุผล คือ รู้จักสืบสวนจากผลไปหาเหตุ และจากเหตุไปหาผล
มีปัญญามาก ฉลาด เรียนเก่ง – หมวดคุณสมบัติ
กรรมที่ทำให้มีปัญญามาก ฉลาด เรียนเก่ง ได้แก่ บุญสนับสนุนส่งเสริมการศึกษา มีนิสัยใฝ่การศึกษา บุญชอบให้วิทยาทาน คบบัณฑิต ชอบทำสมาธิ ไม่พูดเท็จ
วิบากกรรมที่ทำให้ถูกโกง ถูกหลอก ถูกเอาเปรียบ
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสถึงหัวใจเศรษฐี หมายถึง ธรรมที่ทำให้สร้างตัวได้ไว้ 4 ประการ คือ 1. ฉลาด ขยันหาทรัพย์ 2. ฉลาดรักษาทรัพย์ที่หามาได้ 3. คบคนดี หรือมีคู่ค้าเป็นคนดี 4. รู้จักประมาณในการใช้ทรัพย์
ทานทำให้อายุยืน ผิวสวย มีความสุข แข็งแรง ฉลาด ได้หรือไม่ ?
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ทายกผู้ให้โภชนะ (อาหาร) เป็นทาน ชื่อว่าให้ฐานะ 5 อย่างแก่ปฏิคาหก (ผู้รับ) 5 อย่างเป็นไฉน คือ
ใกล้คนดีก็ได้ดี
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเหล่าใดถึงพร้อมแล้วด้วยศีลสมาธิ ปัญญา วิมุตติ วิมุตติญาณทัสสนะ เป็นผู้กล่าวสอนให้รู้แจ้ง ให้เห็นแจ้ง ให้สมาทาน ให้อาจหาญ ให้ร่าเริง เป็นผู้สามารถบอกพระสัทธรรมได้อย่างดี
มงคลที่ ๙ มีวินัย - ศีล เส้นทางสู่ความเป็นมนุษย์
ศีล เป็นคุณธรรมที่จะคุ้มครองรักษากาย วาจา ใจ ของเราให้เรียบร้อยสมบูรณ์ เป็นคุณธรรมเบื้องต้นที่จะส่งให้เราเข้าถึงสมาธิ ปัญญา ซึ่งเป็นหนทางแห่งการบรรลุมรรคผลนิพพาน การรักษาศีลมีจุดประสงค์หลายประการด้วยกัน อย่างน้อยก็เป็นเกราะคุ้มกันชีวิตของเราในปัจจุบันชาตินี้ ไม่ให้พบกับความทุกข์ ความเดือดร้อน และความเสื่อมเสียอันสืบเนื่องจากการเบียดเบียนผู้อื่น
การพัฒนาบุคคลากรด้วยปัญญา 3 ฐาน
ดร.วรภัทร์ ภู่เจริญ ได้เสนอวิธีการพัฒนาบุคลากรด้วยหลักปัญญา 3 ฐาน คือ ฐานกาย ฐานใจ ฐานความคิด ซึ่งแท้จริงแล้วนำมาจากหลักในพระพุทธศาสนานั่นเอง คือ ศีล สมาธิ ปัญญา ในเชิงบริหารนั่นเอง
พุทธบุตรต้องสวมหัวใจความเป็นพระแท้ด้วย “สัมมาอะระหัง”
ช่วงนี้เป็นฤดูกาลแห่งการเข้าพรรษา ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่สำคัญในการฝึกฝนอบรมตนเองของพระภิกษุให้เป็นพระแท้ที่สมบูรณ์พร้อมทั้งกิจวัตรกิจกรรม เพื่อนำพาไปสู่การทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน โดยเฉพาะการฝึกฝนอบรมจิตถือเป็นการฝึกที่สำคัญที่สุดของพระ เพราะจิตที่สะอาดผ่องใสย่อมส่งผลให้ศีล สมาธิ ปัญญา และสมณสัญญาเต็มเปี่ยมบริบูรณ์ ซึ่งสิ่งที่จะช่วยให้การฝึกจิตเป็นไปอย่างก้าวหน้า รวดเร็ว ต้องอาศัยการภาวนา “สัมมาอะระหัง” กำกับตลอดเวลา