ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 64
การพบกันเพียงครั้งแรกระหว่างชายหนุ่มกับหญิงสาวก็ เกิดความรู้สึกต้องตาต้องใจกันเช่นนี้ ก็เนื่องด้วยบุพเพสันนิวาส คือได้เคยอยู่ร่วมกันมา และเคยได้สร้างบุญร่วมกันมาในภพชาติก่อน ซึ่งมโหสถบัณฑิตและนางอมราก็อยู่ในกฎเกณฑ์นี้
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - ชีวิตใหม่ในเพศสมณะ
พระภิกษุสามเณรที่บวชเข้ามาในบวรพระพุทธศาสนา คือ ผู้เห็นภัยในวัฏสงสาร เห็นว่าชีวิตนี้เต็มไปด้วยความทุกข์ ทั้งทุกข์ประจำและทุกข์จร ไม่ว่าจะเกิดเป็นชนชั้นสูง ชั้นกลาง หรือชั้นล่าง ต่างก็มีทุกข์ด้วยกันทั้งสิ้น เพราะฉะนั้น จึงสละเพศฆราวาส ออกบวชเป็นบรรพชิต ปลงผมและหนวด ละทิ้งเครื่องนุ่งห่มที่มีราคาของคฤหัสถ์
ทำไมบนสวรรค์จึงมีทั้งเทวดาและมาร
เทวดายังมีชั้น จึงไม่แปลกที่มนุษย์มีการแบ่งชนชั้นวรรณะ ต้องไปแก้ที่เทวดาก่อน ถ้าแก้เทวดาไม่ตก มนุษย์ก็ยังมีชนชั้น ที่เทวดามีชั้นเพราะมีความละอายและเกรงกลัวต่อบาปไม่เท่ากัน
ตอนนั่งสมาธิทำไมจิตใจมักคิดถึงแต่เรื่องไม่ดี
เราเคยสะสมความคิดไม่ดีมาก่อน พอใจสงบเข้า ก็เหมือนกรอฟิล์มภาพยนตร์ย้อนกลับ ของไม่ดีผุดขึ้นมาเหมือนคุ้ยกองขยะ พอเราทำสมาธิก็เหมือนเราโกยขยะให้หลุดออกไปจากใจ
ประกาศขายปราสาท "แดร็กคิวลา" ตำนานผีดูดเลือดเกือบ 3 พันล้าน
โอวาทปาฏิโมกขาทิปาโฐ
เทพบุตรมาร (๒)
รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยหู กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจมูก รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยลิ้น สัมผัสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยกาย ธรรมารมณ์ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยใจ อันน่ารักน่าปรารถนาน่าใคร่ น่าพอใจ อาศัยความใคร่ ชวนให้กำหนัดมีอยู่ หากภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่สรรเสริญ ไม่หมกมุ่น ไม่พัวพันอยู่ในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสและธรรมารมณ์ ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ไม่ไปสู่ที่อยู่ของมาร ไม่ตกอยู่ในอำนาจของมาร ไม่ถูกมารครอบงำ เป็นผู้พ้นจากบ่วงมาร ภิกษุนั้น มารผู้มีบาปพึงใช้บ่วง ทำตามความปรารถนาไม่ได้
พระบรมธาตุในประเทศไทย ตอนที่ 2
พระบรมธาตุในประเทศไทย 1. วัดอโศกการาม 2. วัดราษฎร์บำรุง 3. พระสมุทรเจดีย์ 4. วัดทรงธรรมวรวิหาร (นครเขื่อนขันธ์).....
รณรงค์รับโทร.-ใช้สวัสดีแทนฮัลโหล
คนดีที่โลกต้องการ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ เป็นบัณฑิต ฉลาด เป็นสัตบุรุษ ครองตนอันไม่ขาดจากแก่นสาร ไม่ถูกประหารจากคุณธรรม เป็นผู้ไม่มีโทษ ผู้รู้ไม่ติเตียน และได้บุญมากด้วยธรรม ๓ ประการคืออะไรบ้าง คือ กายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต บุคคลประกอบด้วยธรรม ๓ ประการนี้แล เป็นบัณฑิต