กองทุนผ้าไตรจีวรเพื่อใช้ในการบรรพชาอุปสมบทหมู่ธรรมทายาทภาคฤดูร้อน
เมื่อบัณฑิตกำจัดความประมาทด้วยความไม่ประมาท
เมื่อใดบัณฑิตกำจัดความประมาทด้วยความไม่ประมาท เมื่อนั้นเขานับว่าได้ขึ้นสู่ "ปราสาทคือปัญญา" ไร้ความเศร้าโศก สามารถมองเห็นประชาชน ผู้โง่เขลา
อานิสงส์ถวายพวงดอกมะลิ
ดวงจันทร์ปราศจากมลทิน โคจรไปในอากาศย่อมสว่างกว่าหมู่ดาวทั้งปวงในโลกด้วยรัศมี ฉันใด บุคคลผู้สมบูรณ์ด้วยศีล มีศรัทธา ย่อมไพโรจน์กว่าผู้ตระหนี่ทั้งปวงในโลกด้วยจาคะ ฉะนั้น เมฆที่ลอยไปตามอากาศ มีสายฟ้าปลาบแปลบ มีช่อตั้งร้อย ตกรดแผ่นดินทำให้เต็มที่ดอนและที่ลุ่ม ฉันใด สาวกของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้สมบูรณ์ด้วยญาณทัสสนะ เป็นบัณฑิตก็ฉันนั้น ย่อมข่มผู้ตระหนี่ได้ด้วยฐานะ ๕ ประการคือ อายุ วรรณะ สุข ยศ และอธิปไตย ย่อมบันเทิงใจในสุคติโลกสวรรค์
แนวทางใหม่แก้ปัญหา เด็กติดเหล้า ควรสร้าง"ภูมิคุ้มกัน"ตั้งแต่ชั้นประถม!!!
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๑๑ ( สนองราชกิจ )
การปฏิบัติธรรมเป็นหัวใจในการสร้างบารมี ใคร อยากจะประสบความสำเร็จในการปฏิบัติธรรม ก็อย่าดูเบาในเรื่องเล็กๆ น้อยๆ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของท่านั่ง การหลับตา หรือการทำใจให้สบายๆ ให้ปลอดโปร่ง ปลดปล่อยวางจากภารกิจการงานต่างๆ เป็นต้น โดยเฉพาะเรื่องปลิโพธความกังวลใจในชีวิตประจำวัน เรื่องการทำมาหากิน ครอบครัว ญาติสนิทมิตรสหาย การศึกษาเล่าเรียน หรือแม้แต่การเดินทาง
มงคลที่ ๒๕ มีความกตัญญู - อภิชาตบุตรยอดกตัญญู
อานุภาพของการบำรุงบิดามารดาไม่ใช่ เรื่องธรรมดา ผู้ที่เลี้ยงดูบิดามารดา แม้ยักษ์ผู้มีใจเหี้ยมโหดก็ยังอ่อนโยนได้ แล้วเกิดความเลื่อมใส จนเปลี่ยนจากยักษ์ที่เหี้ยมโหดกลายมาเป็นยักษ์ใจดี มีศีลมีธรรม พระพุทธองค์ถึงได้ตรัสว่า เพราะการปรนนิบัติในบิดามารดา
เนมิราชชาดกบําเพ็ญอธิษฐานบารมี(4)
ชนเหล่าใดไม่มีเพื่อนสอง อยู่คนเดียว ย่อมไม่รื่นรมย์ ย่อมไม่ได้ปีติเกิดแต่วิเวก ชนเหล่านั้นถึงจะมีโภคสมบัติเสมอด้วยพระอินทร์ ก็ชื่อว่าเป็นคนเข็ญใจ เพราะได้ความสุขที่ต้องอาศัยผู้อื่น
ยุทธศาสตร์ชีวิต-พิชิตใจตน
ยุทธศาสตร์ของชีวิต คือ 1. ตั้งเป้าหมายชีวิตให้ชัดเจน มีศรัทธา 2. มีวินัยกำกับตัวเองให้มุ่งตรงต่อเป้าหมายนั้น ฝันให้ไกล ต้องทำให้ถึงด้วย ถึงจะถึงที่ฝัน 3. แสวงหาความรู้เพื่อจะได้นำไปสู่เป้าหมายนั้นได้จริงๆ 4. รู้จักสละอารมณ์ที่ไม่ดีออกไปจากใจ อย่าไปติดใจประเด็นเล็กๆ จนทำให้เราเบี่ยงเบนไปจากเป้าหมาย 5. มีปัญญาในการนำสรรพกำลังทั้งปวงมาทุ่มเทแก้ปัญหา
ต้นบัญญัติมารยาทไทย ตอนที่ ๒ บ่อเกิดของมารยาทไทย หมวดที่ ๑ สารูป
ถ้าพูดภาษาชาวบ้านก็เกี่ยวกับการรักษารูปของเรา คือ เรื่องการแต่งเนื้อแต่งตัวและกิริยามารยาทต่าง ๆ ซึ่งของพระภิกษุท่านว่าไว้อย่างนี้ ข้อ ๑-๒ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักนุ่ง-จักห่มให้เรียบร้อย”
ยอดผู้นำ และผู้บริหาร
คนพาลสำคัญตนว่าเป็นบัณฑิต บริหารหมู่คณะ ลุอำนาจความคิดของตน คงนอนตายเหมือนกับกระบี่ตัวนี้ คนโง่แต่มีกำลัง บริหารหมู่คณะไม่ดี ก็ไม่เป็นประโยชน์แก่หมู่ญาติเหมือนนกต่อไม่เป็นประโยชน์แก่นกทั้งหลาย ส่วนคนฉลาด มีกำลังบริหารหมู่คณะดี เป็นประโยชน์แก่หมู่ญาติ เหมือนท้าววาสวะเป็นประโยชน์แก่ทวยเทพฉะนั้น