สมเด็จพระสังฆราช นำพสกนิกรเจริญพระพุทธมนต์ ในพิธีมหามงคลบำเพ็ญพระราชกุศลถวายในหลวงรัชกาลที่ 9
23 พฤษภาคม พ.ศ.2560 สมเด็จพระสังฆราช นำพสกนิกรเจริญพระพุทธมนต์ ในพิธีมหามงคลบำเพ็ญพระราชกุศลถวายในหลวงรัชกาลที่ 9
การปกครองพระนั้นทำกันอย่างไร
แม้กรมการศาสนาจะใช้คำว่า กรมการศาสนาปกครองพระ ก็พูดได้ไม่เต็มปาก เพราะจริงๆ แล้วตามพระวินัย การปกครองสงฆ์จะอยู่ในลักษณะให้อยู่ร่วมกันด้วยความเคารพ แบบพ่อรักลูก
มาร ๕ ฝูง
ประทีปที่ส่องแสง ถ้ามีแสงน้อย ย่อมดับไปด้วยลมได้ เหมือนเถาวัลย์ที่เหี่ยวแห้งไป ฉันใด ท่านก็จงเป็นผู้ไม่ถือมั่น แล้วกำจัดมาร ผู้มีโคตรเสมอด้วยพระอินทร์ฉันนั้นเถิด เมื่อท่านกำจัดมารได้อย่างนี้แล้ว เป็นผู้ปราศจากความกำหนัดพอใจในเวทนาทั้งหลาย จะเป็นผู้มีความเย็น รอคอยเวลานิพพานในอัตภาพนี้ทีเดียว
ทาสแห่งความสวยงาม
มาร Mara - แปลว่า "ตาย" มารจึงแปลว่า "ผู้ให้ตาย" ในความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายว่า มารเป็นเทวดาจำพวกหนึ่งมีใจบาปหยาบช้าคอยกีดกันไม่ให้ทำบุญ
เตือนหลงผิดซดเหล้าดับความหนาว มากเกินไป อาจถึงขั้นช็อกเสียชีวิต
ธารน้ำใจช่วยภัยน้ำท่วม
คุณวิชัย เติมเศรษฐเจริญ เจ้าของกิจการค้าวัสดุก่อสร้าง นำรถ 6 ล้อ พร้อมเครน-ยก ช่วยป้องกันน้ำท่วม พร้อมถวายกระสอบทรายยักษ์
ทำไมบนสวรรค์จึงมีทั้งเทวดาและมาร
เทวดายังมีชั้น จึงไม่แปลกที่มนุษย์มีการแบ่งชนชั้นวรรณะ ต้องไปแก้ที่เทวดาก่อน ถ้าแก้เทวดาไม่ตก มนุษย์ก็ยังมีชนชั้น ที่เทวดามีชั้นเพราะมีความละอายและเกรงกลัวต่อบาปไม่เท่ากัน
ผู้ขัดขวางการสร้างบารมี
ชนเหล่าใด จักสำรวมจิต ที่ท่องไปในที่ไกลๆ เที่ยวไปดวงเดียว ไม่มีสรีระ มีถ้ำเป็นที่อาศัย ชนเหล่านั้น จะพ้นจากเครื่องผูกแห่งมาร
เทพบุตรมาร (๒)
รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยหู กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจมูก รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยลิ้น สัมผัสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยกาย ธรรมารมณ์ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยใจ อันน่ารักน่าปรารถนาน่าใคร่ น่าพอใจ อาศัยความใคร่ ชวนให้กำหนัดมีอยู่ หากภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่สรรเสริญ ไม่หมกมุ่น ไม่พัวพันอยู่ในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสและธรรมารมณ์ ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ไม่ไปสู่ที่อยู่ของมาร ไม่ตกอยู่ในอำนาจของมาร ไม่ถูกมารครอบงำ เป็นผู้พ้นจากบ่วงมาร ภิกษุนั้น มารผู้มีบาปพึงใช้บ่วง ทำตามความปรารถนาไม่ได้
อาสวกิเลส
มารย่อมค้นไม่พบวิถีทางของผู้ทรงศีล ผู้อยู่ด้วยความไม่ประมาท ผู้หลุดพ้นจากอาสวกิเลส เพราะรู้ชอบ