มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - สังฆทานเป็นทานอันเลิศ
การถวายภัตตาหารหรือไทยธรรมเป็นสังฆทานนี้ พระพุทธองค์ทรงสรรเสริญว่าเป็นบุญใหญ่ ได้อานิสงส์มากกว่าการถวายจำเพาะเจาะจงภิกษุรูปหนึ่งรูปใด ที่เรียกว่า ปาฏิปุคคลิกทาน เพราะฉะนั้นตั้งแต่โบราณเมื่อจะทำบุญ พระท่านจึงสอนว่าให้ถวายเป็นสังฆทาน เพราะพระสงฆ์เป็นประมุขของผู้หวังบุญ
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 14 อานิสงส์แห่งปาฏิปุคคลิกทาน
ปาฏิปุคคลิกทาน (การถวายทานที่เฉพาะเจาะจง) จะมีอานิสงส์น้อยกว่าการถวายทานแบบสังฆทานเป็นอย่างมาก
อานิสงส์บุญถวายสังฆทาน
สังฆทาน มิได้หมายถึง การถวายถังเหลืองที่บรรจุสิ่งของจตุปัจจัยแด่พระสงฆ์ตามมโนภาพในใจคนทั่วไป แต่ สังฆทาน คือทานที่มุ่งเจาะจงไปในหมู่สงฆ์โดยไม่เลือกถวายจำเพาะรูปใดรูปหนึ่ง ถวายให้เป็นสิทธิ์กลางแด่คณะสงฆ์ เพื่อคณะสงฆ์จะจัดสรรแบ่งปันต่อไป การถวายสังฆทานแม้ถวายพระภิกษุเพียงรูปเดียว
ทาน-ทางมาแห่งทรัพย์สมบัติ ความหมายของทาน
ทาน หมายถึง การให้ด้วยความบริสุทธิ์ใจ ไม่หวังผลตอบแทน เมื่อเราให้ทาน แม้จะไม่ได้หวังสิ่งใดตอบแทนก็ตาม แต่ก็จะมีบุญเกิดขึ้น และบุญนั้นจะช่วยออกแบบชีวิตของเราให้สมบูรณ์พร้อมด้วยทรัพย์สมบัติ
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - สังฆทานประเสริฐกว่าปาฏิปุคคลิกทาน
ถ้าภิกษุผู้อยู่ใกล้บ้าน เป็นผู้ฟุ้งซ่าน ไม่ตั้งใจประพฤติพรหมจรรย์ ก็ต้องถูกตำหนิเหมือนกัน ส่วนภิกษุใดแม้จะพำนักอยู่ที่วัดใกล้บ้าน ไม่ได้เป็นผู้บิณฑบาตเป็นวัตร ไม่ได้สมาทานธุดงควัตร ไม่ได้ถือผ้าบังสุกุลเป็นวัตร แต่เป็นผู้ไม่ฟุ้งซ่าน สำรวมอินทรีย์ มีกาย วาจา ใจ สะอาดบริสุทธิ์ ก็สมควรได้รับการสรรเสริญ ภิกษุรูปนั้นเป็นทักขิไณยบุคคลอันเยี่ยม
คำถวายสังฆทาน พิธีการถวายสังฆทาน ลำดับขั้นตอนในการถวายสังฆทาน
พิธีถวายสังฆทาน ลำดับขั้นตอนในการถวายสังฆทาน และคำกล่าวถวายสังฆทาน เป็นอย่างไร
พระศรีอริยเมตไตรย์
พระศรีอริยเมตไตรย์ พระองค์ คือ บุคคลที่จะมาบังเกิดเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์ต่อไป และยังถือเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์สุดท้ายของภัทรกัปนี้อีกด้วย
ชวนต่างชาติให้สนใจ ทาน ศีล ภาวนา
ตัวลูกเป็นชาวต่างชาติ เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา อยากให้ญาติมิตรหันมาสนใจเรื่อง การรักษาศีล เจริญภาวนา จะต้องทำอย่างไรคะ ?
สังคหวัตถุ-4-หลักการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ
ท่านทั้งหลายทราบหรือไม่ว่า การที่เรามาอยู่ร่วมกันในสังคมนั้นต้องปฏิบัติตนอย่างไร จึงจะอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่านทรงได้ให้หลักธรรมในการดำเนินชีวิตในสังคมอย่างเป็นสุขคือ สังคหวัตถุ 4 ซึ่งประกอบด้วยหลักธรรม 4 ข้อ ได้แก่ ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา และ สมานัตตา โดยมีรายละเอียดแต่ละข้อดังนี้
กฐินทาน กาลทานที่มีผลานิสงส์มาก
คำสอนในพระพุทธศาสนากล่าวว่า “ทาน” หรือ “การให้” เป็นความดีที่เป็นสัมมาทิฐิเบื้องต้นของมนุษย์ทุกคน เพราะทั้งการให้ การแบ่งปัน หรือการสงเคราะห์ ล้วนเป็นคุณธรรมที่เกื้อกูลกันระหว่างชีวิตต่อชีวิต เป็นพื้นฐานความดีที่จะช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีความเจริญก้าวหน้าต่อไป ดังเช่น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าในครั้งยังสร้างบารมี กว่าพระองค์จะทรงประสบความสำเร็จขั้นสูงสุดในชีวิต คือการตรัสรู้ธรรม พระองค์ก็ทรงอาศัยการทำทานเป็นจุดเริ่มต้นของการสั่งสมความดี