ครุกรรม (๑)
คนพาลกระทำกรรมอันลามกอยู่ ย่อมไม่รู้สึก บุคคลที่มีปัญญาทรามย่อมเดือดร้อน เพราะกรรมทั้งหลายอันเป็นของตน เหมือนบุคคลที่ถูกไฟไหม้แล้วฉะนั้น
โลกาพินาศเพราะอำนาจกิเลส
คนพาลมีปัญญาทราม กระทำกรรมชั่วอยู่ ก็ไม่รู้สึกว่าได้ทำความชั่ว แต่เขาย่อมเดือดร้อนเพราะกรรมของตน เหมือนถูกไฟไหม้ ฉะนั้น
มงคลที่ ๒๐ สำรวมจากการดื่มน้ำเมา - สุราเป็นเหตุ
วันหนึ่ง ประชาชนเข้ามาขอร้องนายอำเภอว่า ข้าแต่นาย ในงานมหรสพประจำปี ซึ่งจะมีขึ้นในวันพรุ่งนี้ ทุกๆ ปีตั้งแต่โบราณกาล ชาวบ้านต่างพากันดื่มสุราเลี้ยงฉลองกันใหญ่โตเป็นที่สนุกสนาน เวลาอื่นท่านห้ามขายสุรา พวกเราก็ไม่ว่า แต่พรุ่งนี้เป็นงานประจำปี ซึ่งทำกันเป็นประเพณีมานาน เพราะฉะนั้น ขอท่านนายอำเภอ จงอนุญาตให้ซื้อขาย และดื่มสุรากันสักวันหนึ่งเถิด
คิดกลับใจก็สายเสียแล้ว
คนพาลมีปัญญาทราม กระทำกรรมชั่วอยู่ก็ไม่รู้สึก ย่อมเดือดร้อนเพราะกรรมของตน เหมือนถูกไฟไหม้ฉะนั้น
ส่องธรรม ล้ำภาษิต : เศร้าหมอง - บริสุทธิ์
ใครทำกรรมใดไว้ ย่อมได้รับผลแห่งกรรมนั้น ไม่มีใครดลบันดาลให้เป็นไป เว้นแต่ตัวเราเอง
อนาถบิณฑิกเศรษฐี (ทรัพย์หมด แต่ไม่หมดศรัทธา)
บัณฑิตทั้งหลายย่อมไม่ประพฤติกรรมอันเป็นบาป เพราะเหตุแห่งความสุขของตน ถูกทุกข์กระทบแล้ว แม้จะพลาดพลั้งลงไป ก็สงบอยู่ได้ ไม่ละทิ้งธรรม เพราะความรัก และความชัง
เหล่าคนพาล ปัญญาทราม
เหล่าคนพาล ปัญญาทราม ทำตัวเองให้เป็นศัตรูของตัวเอง เที่ยวก่อแต่บาปกรรรมที่มีผลเผ็ดร้อน
คนพาลย่อมได้ทุกข์
ตลอดระยะเวลาที่บาปยังไม่ให้ผล คนพาลสำคัญบาปหวานปานน้ำผึ้ง เมื่อใดบาปให้ผล เมื่อนั้นเขาย่อมได้ทุกข์
ศีลธรรม-มนุษยธรรม
การฆ่าหรือประทุษร้ายร่างกายผู้อื่นรวมทั้งสัตว์ทั้งหลาย ล้วนชื่อว่านำความทุกข์กาย ทุกข์ใจมาสู่ตนและผู้อื่น ได้ชื่อว่าเป็นการละเมิดศีลข้อ 1 ซึ่งเป็นมนุษยธรรม การละเมิด ศีลในทุกระดับ ไม่ว่าจะถึงขั้นศีลขาด ศีลทะลุ ศีลด่าง หรือศีลพร้อย ล้วนแต่เป็นการทำลาย คุณภาพใจให้เสื่อมลง
เดินตามทางของบัณฑิต ตอนที่ ( ๒ )
บุคคลให้ทานไม่ได้เพราะเหตุผล ๒ ประการ คือ ความ ตระหนี่ และความประมาท บัณฑิตผู้รู้แจ้ง เมื่อต้องการบุญพึงให้ทาน คนตระหนี่กลัวความอดอยากยากจน เพราะความกลัวจนนั่นแหละ จะเป็นภัยแก่ผู้ไม่ให้ และจะกลับมามีผลต่อคนพาลผู้หลงผิด ฉะนั้น บัณฑิตพึงครอบงำมลทิน กำจัดความตระหนี่แล้วรีบให้ทาน เพราะบุญเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลาย ทั้งในโลกนี้และโลกหน้า