ถ้าจิตขุ่นมัวในขณะนั้น ตายแล้วไปไหน ?
ถ้าจิตขุ่นมัวในขณะนั้น ตายแล้วไปสู่อบายภูมิ มีนรก เป็นต้น สมดังที่พระพุทธองค์ตรัสไว้ใน ปุคคลสูตร ว่า...
ปรโลกชีวิตหลังความตาย
ในทุกยุคทุกสมัยผู้คนมักสงสัยกันว่า คนเราเมื่อตายแล้วจะไปอยู่ที่ไหน บางคนมีความเชื่อว่าตายแล้วสูญ บางคนเชื่อว่าตายแล้วไม่สูญ แต่โดยทั่วไปแล้วมนุษย์เราไม่ทราบว่าตายแล้วไปไหน ซึ่งความเชื่อเหล่านี้มีผลต่อชีวิตหลังความตายของบุคคลนั้นๆ คือ ถ้าเชื่อว่าตายแล้วสูญ แล้วไม่ประกอบความดี เมื่อละโลกแล้วปรโลกที่เขาจะไปนั้น ก็จะเศร้าหมอง ทุกข์ทรมานยิ่งนัก
โลกมนุษย์ที่สุดของความแตกต่าง
มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความแตกต่างของแต่ละบุคคล แม้เราจะมีอวัยวะที่เป็นคนเหมือนกัน แต่มีหลายสิ่งหลายอย่างที่ไม่เหมือนกัน ความแตกต่างเหล่านี้ หากให้เราคิดหาคำตอบด้วยตนเอง ก็คงจะกะโหลกบานสติเฟื่องเป็นแน่ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงให้คำตอบเหล่านี้ไว้แล้วใน จูฬกัมมวิภังคสูตร
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๑๔ ( คู่ครองในอุดมคติ )
การที่เอาความรักไปวางไว้ที่ความดี จะทำให้ความรักนั้นยืนนาน ความรัก อย่างนี้จะหมดไปต่อเมื่อคู่ครองหมดความดี คนที่มีอัธยาศัยดี แม้ชีวิตร่างกายจะแตกดับเป็นเถ้าผงธุลีไปแล้ว ความดีก็ยังไม่หมด เมื่อความดียังไม่หมดความรักก็ยังคงอยู่ แต่หากเอาความดีไปไว้ตรงที่ความรัก ความยืนยาวของความรักชนิดนี้มีน้อยนิด เพราะรักกับชังอยู่ใกล้กันมาก
ความต้องการของคน 6 ประเภท
ธรรมดากษัตริย์ทั้งหลาย ย่อมประสงค์โภคทรัพย์ นิยมปัญญา มั่งใจในกำลังทหาร ต้องการในการได้แผ่นดิน มีความเป็นที่สุด
คนรวยที่แท้จริง
ตำแหน่ง “มหาเศรษฐี” มักเป็นที่ชื่นชมสนใจของคนในโลก ทุกปีจะมีการจัดอันดับ “ความรวย” ออกแสดงทางสื่อหลายค่ายด้วยกัน
มงคลที่ ๗ เป็นพหูสูต - สั่งสมปัญญาบารมี
ความรู้ในพระไตรปิฎกนั้น ยิ่งศึกษายิ่งแตกฉาน ทำให้เราเข้าใจและรู้หนทางไปสู่อายตนนิพพานเพิ่มมากขึ้น เสมือนได้นั่งอยู่เบื้องพระพักตร์ของพระบรมศาสดา กาย วาจา ใจ ของเราจะบริสุทธิ์เกลี้ยงเกลาตามพระองค์ไปด้วย ในตอนนี้จะได้อธิบายเกี่ยวกับหมวดพุทธวจนะ ในพระไตรปิฎก
ปฏิบัติธรรมสวดมนต์เข้าพรรษา อ.โพธาราม
สาธุชน อำเภอโพธาราม และอำเภอใกล้เคียง ในจังหวัดราชบุรี กว่า 1000 คนร่วมพิธีสวดมนต์ ปฏิบัติธรรม เพื่อแผ่นดิน ในช่วงเข้าพรรษา
ขอเชิญรับปุ๋ยสูตรบำรุงกล้าดอกดาวรวย กับ DMC.tv
หลังจากที่ทุกท่านได้เพาะกล้าดาวรวยผ่านมา ตอนนี้ถึงเวลาที่จะบำรุงด้วยปุ๋ยสูตรต้นแข็งแรงแล้วนะคะ
ทำไมชาวโลกจึงเรียกเราว่าตถาคต
ตถาคตย่อมกล่าว ย่อมแสดงซึ่งสิ่งใดในระหว่างนี้ สิ่งนั้นทั้งหมดย่อมเป็นอย่างนั้นทีเดียว ย่อมไม่เป็นอย่างอื่น เพราะฉะนั้นชาวโลกจึงเรียกว่า ตถาคต