ธัมมัสสวนมัย ฟังธรรมเป็นนิจจิตแจ่มใส
การฟังธรรมเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับทุกชีวิตยิ่งกว่าความรู้ทางโลกที่ร่ำเรียนมา เพราะจะทำให้เกิดดวงปัญญาสว่างไสว สามารถพิจารณาเห็นสิ่งต่าง ๆ ได้ถูกต้องตรงตามความเป็นจริง รู้จักแยกแยะผิดชอบชั่วดี ทำให้มีชีวิตอยู่ด้วยความร่มเย็นเป็นสุข ปลอดภัยจากอบายภูมิ
โครงการสอบตอบปัญหาธรรมะ “ทางก้าวหน้า” ครั้งที่ 41
ชมรมพุทธศาสตร์สากล จัดสอบโครงการสอบตอบปัญหาธรรมะ “ทางก้าวหน้า” ครั้งที่ 41 รอบชิงชนะเลิศระดับจังหวัดและระดับภาค ณ ศูนย์สอบประจำอำเภอทั่วประเทศ
ครม.เห็นชอบสร้างวัดในเขตอุทยานแห่งชาติ 3 แห่ง
Bisley Primary School นิมนต์พระอาจารย์วัดพระธรรมกายลอนดอน ไปสอนวิชาพระพุทธศาสนา
พระอาจารย์จากวัดพระธรรมกายลอนดอน ประเทศอังกฤษ ได้รับนิมนต์จากโรงเรียนประถมศึกษาบิสรีย์ (Bisley Primary School) ให้ไปสอนวิชาพระพุทธศาสนาแก่เด็กนักเรียน
ทอดกฐินอย่างไรให้รวยอย่างในสมัยพุทธกาล
..มีกระแสถามเข้ามาว่า วัดพระธรรมกายสอนผิดหรือเปล่า? ในเรื่องของการทำบุญทอดกฐิน ที่ต้องรีบปิดกองก่อนหรือทำบุญแบบเต็มที่เต็มกำลัง!!!
บุญ คือ เบื้องหลังของความสุข และ ความสำเร็จ
เป็นเรื่องน่าอัศจรรย์อย่างยิ่ง ที่การทำสมาธิเป็นเหมือนการปลุกระดมภูมิคุ้มกันในร่างกายให้ Alert ขึ้นมา หลังกลับจากพนาวัฒน์ หมอตรวจพบว่า มะเร็งที่ลามไปที่ตับหายไปแล้ว พอลูกได้ยินก็ดีใจสุดๆ หมอจะขอผ่าดูอีกทีให้แน่ใจ แต่ลูกขอไปนั่งสมาธิถือศีลก่อน คุณหมอก็ยิ้มๆ พอกลับไปตรวจอีก ปรากฏว่า มะเร็งหายไปหมดแล้ว ส่วนผลเลือดที่แสดงค่าของมะเร็งก็ค่อยๆ ลดลง จนอยู่ในระดับปกติ เป็นเรื่องมหัศจรรย์เกินคาด
สัมมนา Pre Genius Leader
ศูนย์การศึกษาเขาแก้วเสด็จ จังหวัดปราจีนบุรี ร่วมกับ Focus Academy จัดงานสัมมนา
พระพุทธลีลา
พระ ผู้เป็นนาถะของโลก ทรงสมบูรณ์ด้วยจรณะ ไม่ก้าวพระบาทยาวในที่ไกลมาก ไม่ก้าวพระบาทถี่ในที่ใกล้มาก เสด็จดำเนินไม่เสียดสีพระชานุ และข้อพระบาททั้งสอง เสด็จดำเนินไม่เร็วนักไม่ช้านัก ขณะเสด็จดำเนินก็มีสมาธิ พระหฤทัยตั้งมั่น ไม่ทอดพระเนตรขึ้นเบื้องบน หรือลงเบื้องต่ำ ทอดพระเนตรเพียงชั่วแอก มีพระอาการเยื้องกรายคล้ายพญาช้าง ทรงทำโลกพร้อมทั้งเทวโลกให้ร่าเริง ทรงงดงามดุจดวงจันทราในยามรัตติกาล
"ธัมมัสสวนมัย" ฟังธรรมเป็นนิจจิตแจ่มใส
“กาเลน ธมฺมสฺสวนํ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ การฟังธรรมตามกาลเป็นมงคลอย่างยิ่ง”
มงคลที่ ๒๘ เป็นคนว่าง่าย - การฝึกตน บนเส้นทางอริยะ
ในสมัยพุทธกาล พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสถามครูฝึกม้าชื่อ เกสี ที่ไปเข้าเฝ้าพระองค์ว่า “ดูก่อนเกสี ใครๆก็รู้ว่าท่านเป็นครูฝึกม้าฝีมือดีคนหนึ่ง ท่านฝึกม้าอย่างไรเล่า” นายเกสีกราบทูลว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ การฝึกม้าของข้าพระองค์มี ๓วิธี คือ วิธีแรก ข้าพระองค์จะฝึกด้วยวิธีละม่อม ค่อยเป็นค่อยไป วิธีที่สอง ฝึกด้วยวิธีรุนแรง และวิธีสุดท้ายฝึกผสมกันทั้งสองวิธี”