Who is Buddha?
จิต
คำว่า " จิต " ตามหลักคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า หมายถึง สภาพรู้ อาการรู้ลักษณะรู้แจ้งอารมณ์ เป็นใหญ่เป็นประธานในการรู้แจ้งอารมณ์ และคำว่า จิตนี้ยังมีชื่อที่ใช้แทนคำว่าจิตในบางแห่งอีกมาก เช่น ใจ มโน มานัส ปัณฑระ หทัย วิญญาณวิญญาณขันธ์ มนายตนะ เป็นต้น ในชีวิตประจำวันของเรา จะทราบได้ว่าผู้ที่ยังไม่ตายมีชีวิตอยู่ เป็นผู้มีจิตเกิดดับต่อเนื่องไปจนกว่าจะตาย ฉะนั้น จิตคือ สภาพรู้ทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ
การควบคุมจิตด้วยปัญญา
ถ้าเรามีจิตไม่ถูกปรุงแต่ง ก็เรียกว่า เรามีจิตเป็นพุทธะขึ้นมา เป็นผู้รู้ขึ้นมาทันที รู้อะไรถูกต้องขึ้นมาแล้วก็เป็นตัวเองอย่างแท้จริง สภาพมันอยู่คงที่หน้าตาของมันดั้งเดิม ของมันปรากฏอยู่อย่างนั้น ไม่ถูกฉาบไปด้วยกิเลส เรียกว่า ไม่ถูกปรุงแต่ง สภาพจิตมันเป็นอย่างนั้น...
หัวหน้าที่รัก
หัวหน้าที่รักต้องมีลักษณะอย่างไร และ มีคุณธรรมอย่างไรบ้าง
เครื่องกั้นจิตปิดกั้นใจ
“จิต” ของมนุษย์นั้นเดิมทีมีความใสสว่าง สะอาดบริสุทธิ์ หรือที่เรียกว่า “จิตประภัสสร” แต่เพราะถูกอาคันตุกะกิเลส(กิเลสที่จรมา)
สร้างบารมีได้ตลอดรอดฝั่งต้องมีธาตุบริสุทธิ์
การจะอยู่สร้างบารมีกับหมู่คณะไปได้นาน ๆ ต้องมีธาตุบริสุทธิ์มาก หากมีธาตุบริสุทธิ์มาก ธาตุที่ไม่บริสุทธิ์ก็จะค่อย ๆ หมดไป ดังนั้นเราต้องไม่ประมาทในการดำเนินชีวิตโดยการหมั่นสั่งสมธาตุบริสุทธิ์เอาไว้มาก ๆ
ราชองครักษ์ชาตินักรบ ตอนที่ 1
เรื่องราวการสร้างบารมีของยอดนักรบแห่งกองทัพธรรม ซึ่งด้วยบุญของท่านที่ประกอบไว้ดีแล้วในชาตินี้ ทำให้โยมพ่อที่ละโลกไปแล้ว ได้ไปอยู่ในภพภูมิที่สูงขึ้นเป็นอัศจรรย์...ท่านเคยสร้างบารมีกับหมู่คณะมาอย่างไร บุพกรรมใดที่ทำท่านให้ได้มาเทศน์สอนให้คนเข้าใจวัด และการสร้างบารมีของหมู่คณะ...ติดตามเรื่องราวของท่านได้...ในแบบของโรงเรียนอนุบาลฝันในฝันวิทยา
ตัวอย่างละครฟื้นฟูศีลธรรมโลก “แชมป์ชีวิต”
ต่อยมวยเพื่อใช้หนี้ให้แม่...เตรียมตัวรับชมกันได้เร็วๆนี้ ทาง www.dmc.tv
ทศพิธราชธรรม
ธรรมของนักปกครองหรือผู้นำในทุกยุคทุกสมัย เหมาะสำหรับการปกครองทั้งทางโลกและทางธรรม ซึ่งพระบรมศาสดาทรงประทานไว้เป็นแนวทางในการปกครองหมู่คณะ ให้อยู่ร่วมกันอย่างผาสุกทั้งผู้นำและผู้ตาม
มีสติ ด้วยปัญญา
สติทำให้เกิดสมาธิ และสมาธิทำให้เกิดปัญญา ปัญญาที่มีสมาธิเป็นฐานนั้นจะมีพลังมากมีอานิสงส์มาก พระพุทธเจ้าตรัสรู้ เพราะปัญญา แต่กว่าจะตรัสรู้ได้ พระพุทธเจ้าต้องเจริญสติบำเพ็ญสมาธิ เพราะฉะนั้นฝึกสติให้อยู่กับปัจจุบันอย่าใจลอย ใจต้องอยู่กับเรื่องเฉพาะหน้า ที่ต้องทำ ท่านจะมีสมาธิ แล้วสมาธินั้นทำให้เกิดปัญญา ปัญญาที่นำมาใช้ในชีวิต ประจำวัน เรียกว่าสัมปชัญญะ สัมปชัญญะก็คือปัญญาเฉพาะเรื่องนั่นเอง ปัญญาคือความรอบรู้ ส่วนสัมปชัญญะ ก็คือความรู้ชัดรู้จริงที่นำมาแก้ปัญหาเฉพาะหน้าขณะนั้นได้ ถ้าสติไม่มาปัญญาก็ไม่เกิด สติมา ปัญญาเกิด สติเตลิดก็เกิดปัญหา