๔๙ พรรษา วันธรรมชัย วันแห่งชัยชนะโดยธรรม
เมื่อถึงวันที่ ๒๗ สิงหาคม ของทุกปี เหล่าศิษยานุศิษย์กัลยาณมิตรทั้งหลายต่างรำลึกเสมอว่าเป็น “วันธรรมชัย” (วันแห่งชัยชนะโดยธรรม) คือ วันที่หลวงพ่อธัมมชโย เจ้าอาวาสวัดพระธรรมกายและประธานมูลนิธิธรรมกาย เข้าบรรพชาอุปสมบท ณ วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ
สามเณรอุปสมบทอุทิศชีวิต วันวิสาขบูชา พุทธศักราช 2557
ขอเรียนเชิญร่วมพิธีมุทิตาสักการะ ๖๔ ปีทอง พระภาวนาธรรมวิเทศ (ภูเบศ ฌานาภิญโญ)
ขอเรียนเชิญร่วมพิธีมุทิตาสักการะ ๖๔ ปีทอง พระภาวนาธรรมวิเทศ (ภูเบศ ฌานาภิญโญ) น้อมถวายบูชาธรรม ในวาระคล้ายวันเกิด วันศุกร์ที่ ๒๐ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๘
ประวัติโดยสังเขป สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญฺโญ ป.ธ.๙)
ชาติภูมิสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญฺโญ ป.ธ.๙) เจ้าอาวาสวัดปากน้ำองค์ปัจจุบัน
พิธีอุปสมบทหมู่อุทิศชีวิตสามเณรเปรียญธรรม 12 รูป ในวันวิสาขบูชา พ.ศ. 2558
ขอเชิญร่วมเป็นเจ้าภาพจัดพิมพ์วารสารพระสังฆาธิการฉบับมุทิตาสักการะเปรียญธรรม ๙ ประโยค
วารสารพระสังฆาธิการฉบับมุทิตาสักการะเปรียญธรรม ๙ ประโยค ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๕๘
"เข้าพรรษา" ช่วงเวลาของการเพิ่มพูนความดี
เทศกาลเข้าพรรษาเวียนมาอีกครั้งหนึ่ง ในปีนี้เป็นปีอธิกมาส คือ เป็นปีที่มีเดือน ๘สองหน วันสำคัญในทางศาสนาของปีนี้จึงเลื่อนไป ๑ เดือน ตามข้อกำหนดของการนับวันของประเทศไทย ทำให้วันมาฆบูชาเลื่อนไปตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๔ และวันวิสาขบูชาตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๗
วันครูผู้ค้นพบวิชชาธรรมกาย
วันครูผู้ค้นพบวิชชาธรรมกาย ตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ จึงเป็นวันสำคัญที่เหล่าศิษยานุศิษย์จะพร้อมใจกันไปร่วมพิธีบูชาครูผู้ค้นพบวิชาธรรมกายและสักการะรูปหล่อทองคำพระมงคลเทพมุนีที่วัดพระ-ธรรมกายโดยพร้อมเพรียงกัน เพื่อรำลึกถึงวันที่พระเดชพระคุณหลวงปู่สละชีวิตเป็นเดิมพันเมื่อวันเพ็ญขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ พ.ศ. ๒๔๖๐ ณ อุโบสถวัดโบสถ์บน ตำบลบางคูเวียง อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี จนบรรลุวิชชาธรรมกายและนำมาสั่งสอนจนกระทั่งสืบทอดมาถึงปัจจุบัน
ดูอย่างไรว่า..ชีวิตมีกำไรหรือขาดทุน
มีคนบอกว่าเกิดมาต้องหากำไรให้ชีวิต โดยเอาความสุขใส่ตัวให้มากที่สุด ต้องดื่มต้องกินของอร่อย ๆ ต้องไปเที่ยวรอบโลก ต้องมีแฟนเยอะ ๆ ต้องหาประสบการณ์แปลกแหวกแนว ต้องใช้ของดีมีคุณภาพ สรรหาของราคาแพง ๆ ไว้ประดับบารมี ถ้าได้อย่างนี้ถึงจะเรียกว่ามีกำไรชีวิต...
สำรวมศีล : มรดกธรรมของหลวงปู่วัดปากน้ำ
สำรวมศีล ใจต้องอยู่ศูนย์กลางกายที่ทำให้เป็นกายมนุษย์ นั่นแหละที่ตั้งของศีล ที่เกิดของศีลนั้นจะต้องอยู่ศูนย์กลางดวงธรรมที่ทำให้เป็นกายมนุษย์...