พระอริยเจ้า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ธรรมอื่นแม้อย่างหนึ่ง ซึ่งเป็นเหตุให้หมู่สัตว์ถูกธรรมนั้นหุ้มห่อ แล้วท่องเที่ยวไปสิ้นกาลนาน เหมือนหมู่สัตว์ผู้ถูกโมหะหุ้มห่อแล้ว ไม่มีเลย ส่วนพระอริยสาวกเหล่าใด ละโมหะแล้ว ทำลายกองแห่งความมืดได้แล้ว พระอริยสาวกเหล่านั้นย่อมไม่ท่องเที่ยวไปอีก เพราะอวิชชาอันเป็นต้นเหตุแห่งสงสาร ย่อมไม่มีแก่พระอริยสาวกเหล่านั้น
ขออย่างพระอริยเจ้า
ผู้มีปัญญาทั้งหลาย จะไม่ออกปากขอเลย ธีรชนควรรู้ไว้ พระอริยเจ้าทั้งหลาย ยืนเฉพาะเจาะจงอยู่ที่ใด นั่นคือการขอของพระอริยเจ้าทั้งหลาย
กรรมที่ทำต่อพระอริยเจ้าทำไมจึงมากกว่าธรรมดา
พระอริยเจ้านั้น ท่านเป็นผู้มีคุณใหญ่ มีความดีมาก ส่วนคนทั่วไปเป็นผู้มีคุณน้อยมีความดีน้อย ถ้าเราไปทำผิดคิดร้ายต่อพระอริยเจ้า ไม่ว่าจะตั้งใจหรือไม่ตั้งใจก็ตามผลกรรมนั้นหนักมาก
มงคลที่ 38 - จิตเกษม - ปล่อยวางอย่างพระอริยะ
พระบรมศาสดาประทับยืนที่เหนือศีรษะของท่าน ตรัสให้เห็นทุกข์เห็นโทษของสังขารร่างกายนี้ว่า "กายของเธอนี้อยู่อีกไม่นาน เพราะจะปราศจากวิญญาณแล้ว หาอุปการะมิได้ อีกไม่นานต้องนอนบนแผ่นดิน เหมือนท่อนไม้ที่ไม่มีประโยชน์"
พระประวัติ "สมเด็จพระสังฆราช” องค์ที่ 20 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
พระประวัติพระสังฆราช องค์ปัจจุบัน “สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก (อัมพร อัมพโร)” องค์ที่ 20 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
เมืองโบราณ จ.สมุทรปราการ จัดพิธีจุดประทีปถวายเป็นพุทธบูชา
เมืองโบราณ จังหวัดสมุทรปราการ ร่วมกับศูนย์อบรมเยาวชน และศูนย์ปฏิบัติธรรมสมุทรปราการ นครหลวง 6 จัดพิธีจุดประทีปถวายเป็นพุทธบูชา, บูชาพระอริยสงฆ์ทั่วโลก และบูชาธรรมมหาปูชนียาจารย์ ในวันพระ
วัดพระธรรมกาย มอบทานมอบธรรมแก่ 4 หมู่บ้านใน ต.คลองสาม
วัดพระธรรมกาย ร่วมกับคณะศิษย์ฯ มอบทาน มอบธรรม และชุดปันน้ำใจ สู้ภัยโควิด-19 แก่สมาชิก 4 หมู่บ้านในตำบลคลองสาม สนองพระดำริสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก
วัดพระธรรมกาย จัดพิธีเจริญพระพุทธมนต์ถวายสมเด็จพระสังฆราช
วัดพระธรรมกาย จังหวัดปทุมธานี จัดพิธีเจริญพระพุทธมนต์ถวายเป็นพระกุศล และถวายพระพรแด่สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก
บัณฑิตรู้ข้อแตกต่าง ระหว่างความประมาทกับความไม่ประมาท
บัณฑิตรู้ข้อแตกต่าง ระหว่างความประมาทกับความไม่ประมาท จึงยินดีในความไม่ประมาท อันเป็นแนวทางของพระอริยะ
ศีลดี คือ อะไร ?
ศีลมีประมาณเท่าใด ศีลที่พระอริยเจ้าใคร่แล้ว คือ ศีลที่ไม่ขาด ไม่ทะลุ ไม่ด่าง ไม่พร้อย เป็นไท