เราจะรู้ได้อย่างไรว่ากฎแห่งกรรมมีจริงหรือไม่
ในพระพุทธศาสนามีหลักการอะไรที่จะพิสูจน์ให้เราเห็นชัดว่า กฎแห่งกรรมมีจริง คือทำดีได้ดีจริง ทำชั่วได้ชั่วจริง และเราจะมีวิธีการพิสูจน์ได้อย่างไรว่า สิ่งนั้นเป็นกรรมที่เราทำเอาไว้ในชาติก่อน
คำสอนในพระพุทธศาสนาเถรวาท
มีข้อสังเกตเรื่องคำสอนที่ชาวพุทธเถรวาทเราควรตระหนักรู้ก็คือ
ร่วมทอดกฐินสามัคคีเพื่อสร้างที่พักและห้องน้ำ ณ ศูนย์อบรมเยาวชนจังหวัดแพร่
ขอเชิญร่วมเป็นเจ้าภาพทอดกฐินสามัคคีเพื่อสร้างที่พักและห้องน้ำสำหรับผู้ปฏิบัติธรรม ในวันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ.2556 เวลา 13.00 น. ณ ศูนย์อบรมเยาวชนจังหวัดแพร่ 199 หมู่ที่ 5 ต.แม่ป้าก อ.วังชิ้น จ.แพร่
ม้ากัณฐกะ มีความสำคัญอย่างไร
ม้ากัณฐกะเป็นม้าพระที่นั่งของเจ้าชายสิทธัตถะ เป็นม้าสหชาติ คือ เกิดวันเดียวกับเจ้าชายสิทธัตถะ
มงคลที่ ๓๐ สนทนาธรรมตามกาล
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงตรัสชมพระเถระทุกรูปว่า วาจาของพระเถระทุกรูปต่างเป็นสุภาษิตเหมือนกัน เพราะทุกรูปปฏิบัติได้ตามปฏิปทาที่ตนเองพูด จากนั้นพระองค์ทรงพยากรณ์ว่า...“ภิกษุในศาสนานี้กลับจากบิณฑบาต ฉันภัตตาหารเสร็จแล้ว นั่งขัดสมาธิ ตั้งกายตรง ดำรงสติมั่นเฉพาะหน้าว่า ตราบใดที่จิตของเรายังไม่หมดความถือมั่น ยังไม่หลุดพ้นจากกิเลส ตราบนั้นเราจะไม่ลุกจากที่เลย ดูก่อนสารีบุตร ป่าโคสิงคสาลวันจะพึงงดงามด้วยภิกษุเห็นปานนี้แล”
ศูนย์อบรมเยาวชนจังหวัดแพร่ จัดเดินธุดงค์
พระธรรมทายาทโครงการอุปสมบทหมู่ 1 แสนรูปทุกหมู่บ้านทั่วไทย และสามเณรดีศรีตำบล ของศูนย์อบรมเยาวชนจังหวัดแพร่ ได้ออกเดินธุดงค์เพื่อโปรดญาติโยม
การอนุโมทนาและมุทิตาจิต
คำว่า “อนุโมทนาบุญ” มีความหมายอย่างไร? การที่เรามุทิตาจิตถือเป็นการอนุโมทนาบุญอย่างหนึ่งหรือไม่? สำหรับคนที่เราไม่ชอบ เราจะวางใจร่วมยินดีกับเขาอย่างไร? การมุทิตาหรืออนุโมทนาบุญมีผลต่อสภาวะใจของเราใช่ไหม?
อานิสงส์การอุปัฏฐาก
ผู้ใดมีศรัทธาตั้งมั่น มีความรักตน มีศรัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมบำรุงพระตถาคตหรือพระสาวก การบำรุงนี้ ย่อมเยี่ยมกว่าการบำรุงทั้งหลาย ย่อมเป็นไปเพื่อความบริสุทธิ์แห่งสัตว์ทั้งปวง เพื่อทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - ผลแห่งการถวายดอกปทุม
ครั้งหนึ่ง พระกาฬุทายีเถระได้สร้างบุญพิเศษที่ทำให้เกิดมหาปีติไม่เสื่อมคลาย คือ วันหนึ่งพระปทุมุตตรพุทธเจ้าได้เสด็จจาริกไปโปรดสัตวโลก ครั้งนั้น ท่านได้เอาดอกปทุม ดอกอุบล ดอกมะลิซ้อนที่กำลังบานสวยงาม และข้าวสุกอย่างดีมาถวายพระพุทธองค์ พระพุทธองค์ทรงรับด้วยหวังจะอนุเคราะห์ท่าน
ต้นบัญญัติมารยาทไทย ตอนที่ ๓ บ่อเกิดของมารยาทไทย หมวดที่ ๑ สารูป
ต้นบัญญัติมารยาทไทย ตอนที่ ๓ บ่อเกิดของมารยาทไทย หมวดที่ ๑ สารูป (ข้อ ๓-๘)