พันธนโมกขชาดก ชาดกว่าด้วยการหลุดพ้นจากเครื่องผูกมัด
อดีตกาลอันไกลออกไป ยังมีอัครเหสีผู้สมบูรณ์พร้อมในอิตถีลักษณ์ ชวนหลงไหล บำรุงบำเรอสุขแก่พระเจ้ากาสี อยู่ในพาราณสีนครหลวง “ หญิงสวยอย่างเรา แม้แต่พระเจ้ากาสีก็ยังหลงไหล ฮึ แล้วมีรึ ชายหนุ่มอื่นใดจะไม่ต้องการ
ทำให้ถูกหน้าที่
คนพาลทั้งหลายผู้ไม่ถูกผูกมัด กล่าวขึ้นในที่ใด ย่อมถูกผูกมัดในที่นั้น ส่วนบัณฑิต แม้ถูกผูกมัดแล้ว กล่าวขึ้นในที่ใด ก็หลุดพ้นได้ในที่นั้น
คิดวุ่นวาย
คนโง่มัวคิดวุ่นวายว่า เรามีบุตร เรามีทรัพย์ เมื่อตัวเขาเองก็ไม่ใช่ของเขา บุตรและทรัพย์จะเป็นของเขาได้อย่างไร
มัจฉชาดก ชาดกว่าด้วยความลุ่มหลง
มัจฉชาดก ชาดกว่าด้วยความลุ่มหลง คือตัวนำไปสู่ความตาย "อนิจจาปลาใหญ่คร่ำครวญถึงแต่นางปลาสาว มิได้รู้สึกกลัวความตายที่อยู่ตรงหน้าสักนิด"
พิธีมอบสื่อการเรียนรู้พระพุทธศาสนาโคราช
ชมรมสื่อการเรียนรู้พระพุทธศาสนา ในอุปถัมภ์พระราชภาวนาวิสุทธิ์ มอบสื่อการเรียนรู้วิชา
ทำไมต้องทำบุญ 7 วัน 50 วัน และ 100 วัน
การเลือกคู่และการรับน้องใหม่ที่ดาวดึงส์
ทางมาแห่งการครองเรือนยังมีอีกหลายวิธี เช่น มีเทพธิดา ก. และเทพบุตร ข. ต่างก็มีวิมานของตน เมื่อไปเที่ยวชมสวนก็ดี ไปฟังธรรมที่ธรรมสภาก็ดี เมื่อเจอกันหากมีบุพเพสันนิวาสที่เคยอยู่ร่วมกันมา หรือร่วมบุญสร้างกันมา ก็จะรู้สึกชอบกัน
มโนชชาดก-ชาดกว่าด้วยคบคนชั่วไม่ได้ความสุขที่ยั่งยืน
สมัยนั้นมีสหายสองคนผู้เป็นชาวเมืองราชคฤห์ ในสองสหายนั้น คนหนึ่งบวชในสำนักของพระศาสดาอีกคนหนึ่งบวชในสำนักของพระเทวทัต สหายทั้งสองนั้นย่อมได้พบเห็นกันและกันอยู่เสมอ แม้ไปวิหารก็ยังได้พบเห็นกัน ภิกษุที่ออกบวชในสำนักพระศาสดาต้องปฏิบัติกิจสงฆ์ออกบิณฑบาต ปฏิบัติธรรมอยู่เป็นนิจ ส่วนภิกษุที่บวชในสำนักของพระเทวทัตนั้นไม่ต้องออกไปบิณฑบาต เพราะจะมีคนจัดสำรับไว้ให้ในโรงฉันเรียบร้อย
พระบัณฑิต DOU รุ่นแรกของโลก (8)
มีญาติโยมถามกระผมว่า เรียน DOU ยากไหม กระผมขอตอบได้เลยครับว่า ไม่ยาก เพราะกระผมเป็นเจ้าอาวาสมีภารกิจต้องดูแลบริหารวัด ต้องเทศน์สอน พร้อมๆกับทำกิจวัตร กิจกรรมของพระไปด้วย แต่กระผมก็เรียน DOU ได้จนจบ เพราะการเรียน DOU ไม่ได้เป็นภาระ แต่เป็นสิ่งที่ช่วยให้กระผมทำหน้าที่ของความเป็นพระได้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น DOU ทำให้กระผมได้ทบทวนความรู้ที่เคยศึกษามาแล้ว
ติตติรชาดก ชาดกว่าด้วยความเคารพอ่อนน้อม
นิทานชาดกเรื่องติตติรชาดก ชาดกว่าด้วยความเคารพอ่อนน้อม “ขณะที่เรายังมีชีวิตอยู่ ภิกษุทั้งหลายยังไม่มีความยำเกรงกัน ถ้าหากเราปรินิพพานไปแล้ว ภิกษุทั้งหลายจะเป็นอย่างไร”