หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๖)
ผู้เขียนและคณะนักวิจัยของสถาบันดีรี (DIRI) เพิ่งเดินทางกลับจากประเทศนอร์เวย์และสหรัฐอเมริกา สืบเนื่องจากการลงนามสัญญาความร่วมมือทางวิชาการ ทั้งที่มหาวิทยาลัยออสโลและมหาวิทยาลัยวอชิงตันซึ่งทั้งสองสถาบันเป็นแหล่งที่มี ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Source) ของคัมภีร์พุทธโบราณอายุกว่า ๒,๐๐๐ ปี เป็นจำนวนมาก ที่ค้นพบในเขตคันธาระและแถบเอเชียกลาง ดังนั้นในฉบับนี้จึงขอนำเสนอเส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในเขตคันธาระและแถบเอเชียกลาง
มองโกล มองไกล ตอนที่ 2
ลูกได้มีโอกาสได้สวมวิญญาณลูกหลานมองโกล โดยได้ไปสัมผัสวิถีชีวิตในกระโจมชาวมองโกลโดยแท้ หลังจากที่จดๆจ้องๆมองอยู่นอกกระโจมมานาน ลูกก็มีโอกาสได้เข้ากระโจมแล้วค่ะ กระโจมมองโกเลีย รูปร่างเป็นทรงกลมมีหลังคา ที่ใช้ไม้เป็นโครง ปูผนังและหลังคาด้วยหนังแกะ การประกอบกระโจมสามารถทำได้ใน 1 ชั่วโมง และใช้เวลารื้อเพียงแค่ครึ่งชั่วโมงเท่านั้น
ภาพสามมิติสัมผัสได้เหมือนจริง
นักโบราณคดีค้นหาพระพุทธรูปขนาดใหญ่องค์ที่ 3 ของอาฟกานิสถาน
สนใจเรียนภาษาต่างประเทศ 7 ภาษาที่โรงเรียนพระปริยัติธรรม
ภาษาที่เปิดสอน ภาษาสเปน, ฝรั่งเศส, เยอรมัน, อังกฤษ, จีน, เกาหลี และ ญี่ปุ่น
วัดพระธรรมกายแมนเชสเตอร์จัดอบรมยุวธรรมทายาทหญิงปีที่ 10
วัดพระธรรมกายแมนเชสเตอร์ ประเทศอังกฤษ จัดโครงการอบรมยุวธรรมทายาทหญิงขึ้นเป็นปีที่ 10
หนุ่มผู้ดีตั้งเป้าเดินเท้าสู่แดนภารตะ แพร่เมล็ดพันธุ์ ‘สังคมแห่งการพึ่งพา’
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๙)
สำหรับในฉบับที่แล้วนั้น ผู้เขียนได้พาท่านผู้อ่านให้ย้อนกลับไปรู้จักกับประวัติศาสตร์ของ “พระธรรมจักรศิลา” และความเชื่อมโยงกันของการที่พระพุทธศาสนาได้เริ่มเข้ามาสู่ดินแดนสุวรรณภูมิแห่งนี้ เมื่อราวพุทธศตวรรษที่ ๑๑ หรือประมาณ ๑,๔๐๐ กว่าปีล่วงมาแล้ว
วัดพระธรรมกายนอร์ธสวีเดน จัดพิธีบูชาข้าวพระ
วัดพระธรรมกายนอร์ธสวีเดน ประเทศสวีเดน ได้จัดพิธีบูชาข้าวพระ และพิธีทอดกฐินสามัคคี
มรดกทางพุทธศาสนาที่สูญหายไปของเกาหลี