ธัมมัทธชชาดก ชาดกว่าด้วยพูดอย่างหนึ่งทำอย่างหนึ่ง
มีภิกษุอยู่รูปหนึ่งเป็นผู้ที่ชอบพูดจาโป้ปดอยู่เสมอ คำพูดอย่างหนึ่งแต่การกระทำอีกอย่างหนึ่งจนเป็นที่ระอาใจในหมู่ภิกษุสงฆ์ด้วยกัน ภิกษุทั้งหลายได้พาภิกษุที่ชอบโกหกไปเข้าเฝ้าองค์พระศาสดาเพื่อให้พระองค์ได้ชี้แนะตักเตือน
โทษภัยของการพูดโกหก ผิดศีลข้อที่ ๔
ความวุ่นวายที่เกิดบนโลก โดยส่วนใหญ่แล้วมักจะเกิดจากการพูดจาโกหก หลอกลวง กลับกลอกกลับไปกลับมา เรามักจะพบเห็นอยู่ทุกเมื่อเชื่อวัน ไม่เว้นเด็กเว้นผู้ใหญ่ มีหน้าตาฐานะทางสังคมอย่างไรและไม่มีกำแพงชนชาติมากีดกัน ซึ่งมักจะใช้คำสั้น ๆ ว่า “ เด็กเลี้ยงแกะ ” เป็นข้อความที่บ่งชี้ให้เห็นว่าบุคคลนั้น ๆ ที่ถูกประณามเป็นคนพูดโกหก พูดหลอกลวง ทำให้ผู้อื่นหลงเชื่อ ซึ่งถือว่าผิดศีลห้าในข้อที่ ๔ นั่นเอง ที่มีชื่อว่า มุสาวาท
กฎหมายกับกฎแห่งกรรม
กฎหมายกับกฎแห่งกรรมแตกต่างกันอย่างไร? ผู้คนส่วนใหญ่เกรงกลัวกฎหมายหรือกฎแห่งกรรมมากกว่ากัน? กฎแห่งกรรมมีการลดโทษให้คนที่ทำบาปบ้างไหม?
กุศลกรรมบถ 10 ประการ
โลกเปลี่ยนไปเพราะใจมนุษย์แปรปรวนท่านสาธุชนทั้งหลาย โลกมนุษย์นี้เป็นชุมทางของการสั่งสมบุญและบาป ส่วนภพภูมิต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นสุคติหรือทุคติ เป็นเพียงผลที่มารองรับการกระทำของมนุษย์ทั้งสิ้นเป็นผลที่เกิดจากความสะอาดและไม่สะอาดทางกาย วาจา ใจ โลกจะฟูขึ้นหรือยุบลง เจริญขึ้นหรือเสื่อมลง วัฒนะหรือหายนะ ก็เพราะการประพฤติกุศลกรรมบถ 10 ประการนี้
วิธีเตรียมตัวตาย
ดูก่อนสารีบุตร เราย่อมกำหนดรู้ใจบุคคลบางคนในโลกนี้ ด้วยใจอย่างนี้ว่า บุคคลนี้ปฏิบัติอย่างนั้น ดำเนินอย่างนั้น และขึ้นสู่หนทางนั้น เบื้องหน้าแต่ตายเพราะกายแตกจักบังเกิดในหมู่มนุษย์ โดยสมัยต่อมา เราย่อมเห็นบุคคลนั้น เบื้องหน้าแต่ตายเพราะกายแตกบังเกิดแล้วในหมู่มนุษย์ เสวยสุขเวทนาเป็นอันมาก ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของมนุษย์
กำเนิดอบายภูมิ
อกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการนี้ เป็นความไม่สะอาดด้วย เป็นตัวการที่ทำให้ไม่สะอาดด้วย ดูก่อนจุนทะ ก็เพราะเหตุแห่งการประกอบด้วยอกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการนี้ นรกจึงปรากฏ กำเนิดเดียรัจฉานจึงปรากฏ เปตวิสัยจึงปรากฏ หรือว่าทุคติอย่างใดอย่างหนึ่งแม้อื่นจึงปรากฏมีขึ้น
คิดผิดคิดใหม่ได้ (๑)
ดูก่อนเธอผู้เห็นภัยในวัฏสงสารทั้งหลาย สัตว์ที่กลับมาเกิดในหมู่มนุษย์มีน้อย เหมือนฝุ่นในเล็บมือของเรา โดยที่แท้สัตว์ที่พากันไปเกิดเป็นอย่างอื่นนอกจากมนุษย์มีมาก เหมือนฝุ่นในพื้นปฐพีใหญ่
ครุกรรม (๒)
ผู้ใดไม่มีกรรมที่ทำชั่วทางกาย ทางวาจา และทางใจ เราเรียกผู้นั้น ซึ่งสำรวมดีแล้ว โดยฐานะทั้งสามว่าเป็นพราหมณ์
กฏหมายกับกฏแห่งกรรมคุณกลัวอะไรมากกว่ากัน
กฎหมายกับกฎแห่งกรรมมีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร คนส่วนใหญ่จะเกรงกลัวกฎหมายหรือกฎแห่งกรรมมากกว่ากัน กฎหมายมีการปรับเปลี่ยนแก้ไขได้ แล้วกฎแห่งกรรมนั้นเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้หรือไม่
กรรมของการตัดสินไม่ยุติธรรม
กระผมได้ประพฤติทุจริตด้วยการพูดส่อเสียด พูดเท็จและพูดหลอกลวง เพื่อความฉิบหายแก่ตนในมนุษยโลก ผู้ใดประพฤติทุจริตมีพูดส่อเสียดเป็นต้น ผู้นั้นต้องจิกเนื้อหลังของตนกิน เหมือนกระผมจิกเนื้อหลังของตนกินในวันนี้