โทษภัยของการพูดโกหก ผิดศีลข้อที่ ๔
ความวุ่นวายที่เกิดบนโลก โดยส่วนใหญ่แล้วมักจะเกิดจากการพูดจาโกหก หลอกลวง กลับกลอกกลับไปกลับมา เรามักจะพบเห็นอยู่ทุกเมื่อเชื่อวัน ไม่เว้นเด็กเว้นผู้ใหญ่ มีหน้าตาฐานะทางสังคมอย่างไรและไม่มีกำแพงชนชาติมากีดกัน ซึ่งมักจะใช้คำสั้น ๆ ว่า “ เด็กเลี้ยงแกะ ” เป็นข้อความที่บ่งชี้ให้เห็นว่าบุคคลนั้น ๆ ที่ถูกประณามเป็นคนพูดโกหก พูดหลอกลวง ทำให้ผู้อื่นหลงเชื่อ ซึ่งถือว่าผิดศีลห้าในข้อที่ ๔ นั่นเอง ที่มีชื่อว่า มุสาวาท
โทษของการพูดโกหก
เพราะฉะนั้นแล บัณฑิตทั้งหลายไม่สรรเสริญฉันทาคติ คือความลำเอียงเพราะรัก บุคคลไม่พึงเป็นผู้ที่มีจิตถูกฉันทาคติประทุษร้าย พึงกล่าวแต่คำที่อิงคำสัตย์เท่านั้น
จับโกหกให้จ้องดูลูกตาไว้ คนพูดโกหกจะกะพริบ ลูกตาผิดปกติ
ส่องธรรม ล้ำภาษิต : คําพูดของคนไม่ดี
ปกติของคนดี คือ คิดดี พูดดี ทําดี ปกติของคนไม่ดี คือ คิดไม่ดี พูดไม่ดี ทําไม่ดี
อย่าให้ภาพในใจล้ม
คนที่พูดโกหกบ่อย ๆ จอของใจก็มีแต่ภาพล้มเพราะมีแต่ภาพเท็จ ซึ่งการทำอย่างนี้บ่อย ๆ จะมีผลต่อการนั่งสมาธิ อย่างที่บางคนบอกว่า ยังไม่เห็นของจริงสักที
โกหกแบบไหนถึงจะไม่ผิด
หลายคนอาจเคยคิดว่า ถ้าพูดความจริงแล้วจะทำให้เกิดความเสียหาย แต่ถ้าพูดโกหกแล้วจะทำให้สถานการณ์ดีขึ้น แบบนี้จะผิดหรือไม่ และการพูดความจริงแต่พูดไม่หมดนั้นบาปหรือไม่ โกหกแบบไหนถึงจะไม่ผิด
สิ่งที่บรรพบุรุษรอคอย
ความวิบัติอันเป็นโทษทางกาย ๓ ประการคือ การฆ่า การลัก การประพฤติผิดในกาม และโทษทางวาจา ๔ ประการคือ พูดโกหก หยาบคาย ส่อเสียด เพ้อเจ้อ และโทษทางใจ ๓ ประการคือ อภิชฌา พยาบาท มิจฉาทิฏฐิ ย่อมมีวิบากเป็นทุกข์
The characteristics of a Fool:
A fool will have a cloudy and dull mind, as it is full to brimming with negative and damaging thoughts
The 38 Ways to Happiness :- Artfulness in Speech (2)
The 38 Ways to Happiness. The Third Group of Blessings. Blessing Ten :- Artfulness in Speech
The 38 Ways to Happiness :- Artfulness in Usage (3)
The 38 Ways to Happiness. The Third Group of Blessings. Blessing Nine :- Artfulness in Usage.