สาเหตุที่ร่างกายเสียสมดุล
สาเหตุของความเจ็บป่วยหลายๆ โรค มาจากตัวเราเอง ดังนั้น เราจึงต้องมีสติควบคุมกำกับการทำงานของกล้ามเนื้อ เส้นเอ็น และพังผืด ให้อยู่ในภาวะสมดุลอยู่เสมอ ร่างกายก็จะอยู่ในภาวะปกติตลอดเวลา
ความหมายของกายในคำว่าธรรมกาย
คำว่า ธรรมกาย เป็นศัพท์สมาส ที่อาจแปลเป็นคำคุณศัพท์ว่า ผู้มีธรรมเป็นกาย หรืออาจแปลเป็นคำนามก็ได้ว่า กายแห่งธรรม กายคือธรรมหรือ กายที่ประกอบด้วยธรรม
ระบบการขนส่งหลักภายในร่างกาย
องค์ประกอบหลักทั้ง ๓ ประการ ดังกล่าวในข้อ ๑ นั้น ไม่สามารถเคลื่อนที่ไปได้ด้วยตัวเอง ร่างกายจึงต้องมีระบบการขน
World Peace Begins with Inner Peace
Happiness is what all human beings seek. A philosopher can consider history up to the present and define happiness according to many concepts and theories.
ร่างกายดำรงภาวะปกติได้อย่างไร
การที่ร่างกายดำรงภาวะปกติได้นั้น อวัยวะทุกส่วนจะต้องทำงานพร้อมกันเป็นปกติ และต้องทำงานประสานสัมพันธ์กันเป็นอย่างดีเมื่อเจาะลึกเข้าไปในหน่วยย่อยของภายในของอวัยวะ
ดุลยภาพบำบัด
ดุลยภาพบำบัด คือ วิธีการป้องกันบำบัดรักษาโรคและบำรุงสุขภาพ ด้วยการปรับความสมดุลโครงสร้างของร่างกาย ดุลยภาพบำบัดจึงเป็นกระบวนทัศน์ใหม่ด้านสุขภาพและการแพทย์ที่ประยุกต์ใช้ความรู้พื้นฐานทางกายวิภาคและสรีรวิทยา เพื่อป้องกันและรักษาโรคด้วยตนเอง
St. John’s O’Leary finds answers in Buddhism
ดื่มน้ำอย่างไร ให้ถูกดี ถึงดี พอดี
โดยทั่วไปคนเราสามารถอดอาหารได้นานเป็นสัปดาห์ถ้าร่างกายขาดน้ำเพียง ๑ – ๒ วัน ก็ถึงขั้นปางตายได้
มีสติ ด้วยปัญญา
สติทำให้เกิดสมาธิ และสมาธิทำให้เกิดปัญญา ปัญญาที่มีสมาธิเป็นฐานนั้นจะมีพลังมากมีอานิสงส์มาก พระพุทธเจ้าตรัสรู้ เพราะปัญญา แต่กว่าจะตรัสรู้ได้ พระพุทธเจ้าต้องเจริญสติบำเพ็ญสมาธิ เพราะฉะนั้นฝึกสติให้อยู่กับปัจจุบันอย่าใจลอย ใจต้องอยู่กับเรื่องเฉพาะหน้า ที่ต้องทำ ท่านจะมีสมาธิ แล้วสมาธินั้นทำให้เกิดปัญญา ปัญญาที่นำมาใช้ในชีวิต ประจำวัน เรียกว่าสัมปชัญญะ สัมปชัญญะก็คือปัญญาเฉพาะเรื่องนั่นเอง ปัญญาคือความรอบรู้ ส่วนสัมปชัญญะ ก็คือความรู้ชัดรู้จริงที่นำมาแก้ปัญหาเฉพาะหน้าขณะนั้นได้ ถ้าสติไม่มาปัญญาก็ไม่เกิด สติมา ปัญญาเกิด สติเตลิดก็เกิดปัญหา
อารมณ์กับการเกิดโรค
กายกับใจมีผลต่อกัน ถ้าใครมีสุภาพใจที่ดีมักจะมีร่างกายที่แข็งแรง ในทางตรงกันข้ามถ้าใครปล่อยให้อารมณ์ของตัวเองไหลไปตามสิ่งเร้าจากภายนอกมากระตุ้นทำให้มีอารมณ์เปลี่ยนแปลงบ่อยๆ มักจะมีสุขภาพไม่ดี วันนี้เราจึงมาพูดถึง ว่าอารมณ์ต่างๆมีผลต่อรางกายของเราอย่างไร และเป็นปัจจัยให้เกิดโรคได้อย่างไร