วัดโคนอน ตำนานพระธุดงค์วัดโคนอน
วัดโคนอน ถือว่าเป็นวัดกลางป่ากลางดงขาดการบูรณะจึงได้มีการบูรณะจัดรูปแบบให้เป็นระเบียบโดยใช้อุโบสถเป็นศูนย์กลางใครที่มาถึงวัดโคนอนแห่งนี้ จะสัมผัสได้ถึงต้นไม้ใหญ่นับร้อยแผ่กิ่งใบให้ความร่มรื่น
โครงการอุปสมบทหมู่ภาคฤดูร้อน 100,000 รูป ทุกหมู่บ้านทั่วไทย ปี2554
สมัครได้ตังแต่วันนี้ จนถึงวันเข้าโครงการ ระยะเวลาอบรมและอุปสมบทรวม ๔๙ วัน ณ วัดอบรมประจำอำเภอทั่วประเทศ
รายชื่อศูนย์บรรพชาสามเณร 1 แสนรูป ปี 2558 (สามเณรเล็ก)
จะเกิดอะไรขึ้นหากโลกนี้ไม่มีมนุษย์
มนุษย์คนเรานั้นล้วนเป็นเผ่าพันธุ์ที่ดำรงอยู่ที่มีอิทธิพลต่อโลกใบนี้สูงมากที่สุด อารยธรรมของมนุษย์เรานั้นครองโลกเพียงแค่ 1 หมื่นปีเท่านั้น ...
ทศชาติชาดก เรื่องสุวรรณสาม ผู้ยิ่งด้วยเมตตาบารมี ตอนที่ 10
เมื่อยามอรุโณทัย พระโพธิสัตว์จะตื่นแต่เช้าตรู่ รีบลุกจากที่นอนโดยไม่อิดออด เก็บกวาดที่อยู่อาศัยของบิดามารดาจนสะอาดเรียบร้อย จากนั้น พระโพธิสัตว์จะเข้าไปกราบเท้าบิดามารดาทั้งสอง เพื่อไปตักน้ำยังแม่น้ำมิคสัมมตา
เขาแก้วเสด็จ
ในปีนี้ศูนย์การศึกษาเขาแก้วเสด็จ จะครบปีที่ 10 ของการก่อสร้าง ศูนย์การศึกษาแห่งนี้ โดยในวันที่ 13 มิถุนายน นี้ ทางศูนย์การศึกษาเขาแก้วเสด็จ จะจัดให้มีกิจกรรม “ปลูกต้นไม้ให้ร่มธรรม”
จะเป็นอย่างไร เมื่อตายแล้ว ตอนที่ 18
พระอาจารย์หัวหน้างานของลูกได้พบว่า นอกจากจะมีสัตว์ร้ายแล้ว ยังมีพวกโจรที่วางแผนจะปล้นสะดมชาวบ้าน ซ่อนตัวอยู่ในป่าแห่งนี้อีกด้วย
สกุณาชาดก ชาดกว่าด้วยที่พึ่งให้โทษ
ในกาลก่อนพระภิกษุเมื่อออกบวชแล้ว ต่างก็มีวิธีในการแสวงธรรมต่างกันออกไป บ้างก็ศึกษาพระธรรมในพระอาราม บ้างก็ในป่าใหญ่ ดังเช่นภิกษุบวชใหม่รูปหนึ่งได้เลือกออกไปปฏิบัติธรรมในป่าแห่งหนึ่ง เมื่อเข้าฤดูแล้งป่าที่เคยชุ่มชื่นก็แห้งแล้งร้อนระอุ เมื่อกิ่งไม้ใบไม้เสียดสีกันมากๆ ก็เกิดเป็นเปลวไฟลุกไหม้ลามมาถึงบรรณศาลาของภิกษุ เมื่อไฟมอดลงบรรณศาลาของภิกษุก็เหลือแต่ซากเถ้าถ่าน ภิกษุจนปัญญาที่จะสร้างศาลาใหม่ได้ จึงออกจากป่าไปขอความช่วยเหลือจากชาวบ้าน
พิธีถวายมหาสังฆทาน 171 วัด จ.บุรีรัมย์ โดยคณะศิษยานุศิษย์ บูชาธรรม 79 ปี หลวงพ่อธัมมชโย
พิธีถวายมหาสังฆทาน 171 วัด จ.บุรีรัมย์ และถวายกฐินสมทบโครงการกฐินสามัคคีทั่วไทย 5,000 วัด โดยคณะศิษยานุศิษย์ บูชาธรรม 79 ปี หลวงพ่อธัมมชโย ณ วัดกลาง (พระอารามหลวง) จังหวัดบุรีรัมย์
วัดกร่าง
วัดกร่างเป็นวัดเก่าแก่ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเดิมเป็นป่าไผ่กุฏิทรงไทยและหอสวดมนต์ทรงรามัญบริเวณวัดมีลานร่มรื่นด้วยต้นไม้ใหญ่ที่ริมแม่น้ำปลุกสร้างศาลาหลังย่อม เป็นที่พักผ่อนและเลี้ยงปลา