ขอใช้ชีวิตสมณะสร้างบารมีตลอดไป
สมณะ แปลว่า ผู้สงบ ผู้มีบาปสงบระงับแล้ว หมายถึงพระสงฆ์ หมายรวมถึงพระอริยบุคคลผู้สิ้นกิเลสแล้วและผู้ปฏิบัติเพื่อความเป็นอริยบุคคล
"ชีวิต มัณฑะเลย์"
"ชีวิต มัณฑะเลย์" ภาพที่แสดงถึง ชีวิต ผู้คน พุทธศาสนิกชน และสถานที่อันสวยงาม รวมถึงการเตรียมงานของงาน ตักบาตร พระ 10,000 รูป
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - ทาน คือ ชีวิต
อย่างไรก็ตาม ตายเร็วตายช้าก็ไม่ได้เป็นเครื่องวัดความมีโชคดีที่ได้เกิดมาเป็นมนุษย์ ต้องดูตัดสินขณะที่ยังมีชีวิตอยู่ว่าได้สั่งสมบุญกุศลใดบ้าง และมองไหลไปถึงชีวิตหลังความตายได้ว่า ตายแล้วไปไหน มีสุคติหรือทุคติเป็นที่ไป เมื่อเข้าใจเช่นนี้แล้ว ต้องไม่ประมาทในวัยและชีวิต ด้วยการหมั่นหาโอกาสสั่งสมบุญให้มากที่สุด ก่อนที่ความตายจะมาถึง
เครื่องจองจำ
เครื่องจองจำใด เกืดแต่เหล็ก เกิดแต่ไม้และเกิดแต่หญ้าปล้อง ผู้มีปัญญาทั้งหลาย หากกล่าวเครื่องจองจำนั้นว่าเป็นของมั่งคงไม่
มงคลที่ ๒๙ เห็นสมณะ - อานิสงส์การเห็นสมณะ
เมื่อลูกสาวเห็นว่า คุณพ่อมีศรัทธาเลื่อมใสในพระรัตนตรัย เธอจึงแนะนำให้พ่อแม่นิมนต์พระพุทธเจ้า พร้อมด้วยหมู่ภิกษุสงฆ์มาฉันภัตตาหารที่บ้าน คุณพ่อก็ทำตามแล้วได้ขอถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์เป็นสรณะ จากนั้นเธอก็ขออนุญาตออกบวช เนื่องจากสั่งสมบุญไว้มาก บวชได้ไม่นานนัก ได้บรรลุอรหัตตผลพร้อมด้วยปฏิสัมภิทาญาณ๔ เป็นพระอรหันตเถรี ผู้มีฤทธิ์มีเดชมีอานุภาพมาก
สามเณรนิโครธ (๑)
ผู้ใดเห็นภิกษุผู้ถึงพร้อมด้วยจรณะ ให้ท่านยืนอยู่เบื้องหน้า ประคองอัญชลีนมัสการแล้ว ผู้นั้นจะได้รับการสรรเสริญในปัจจุบัน เมื่อละโลกนี้ไปแล้ว ย่อมไปสู่สุคติสวรรค์
สามเณรนิโครธ (๒)
หากว่าบุคคลมีธรรมประดับแล้ว เป็นผู้สงบแล้ว ฝึกตนแล้ว เป็นคนเที่ยงตรง เป็นพรหมจารี เลิกอาชญากรรมในสัตว์ทั้งปวง พึงประพฤติธรรมสมํ่าเสมอ ผู้นั้นก็ชื่อว่าเป็นพราหมณ์ ผู้นั้นก็ชื่อว่า เป็นสมณะ ผู้นั้นก็ชื่อว่า เป็นภิกษุ
เดินตามทางของบัณฑิต ตอนที่ ( ๙ )
โจรนำของไปอยู่ย่อมถูกห้าม แต่สมณะนำไปกลับเป็นที่รัก สมณะมาหาบ่อยๆ บัณฑิตย่อมยินดีต้อนรับ
ชาวโซโลมอนรวมใจปกป้องพุทธสถาน
ชาวโซโลมอน ขอเชิญชวนชาวพุทธทั่วโลกให้ช่วยกันลงชื่อปกป้องพุทธสถานร่วมกันให้เร็วที่สุด ขณะนี้ลูกๆชาวโซโลมอนรวมกว่า 345 ชีวิต ได้ตื่นตัวร่วมแสดงพลังในครั้งนี้เป็นที่เรียบร้อย
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - ให้บ่อยๆ รวยบ่อยๆ
ยาจกยังต้องขอบ่อยๆ ถ้าไม่ขอก็อด คำว่ายาจกคือคนขอทาน จะแตกต่างจากคำว่า สมณะ ซึ่งเป็นการขอแบบอริยะ ที่เป็นเนื้อนาบุญแก่ผู้ให้ทาน บุคคลสองประเภทนี้มีข้อวัตรปฏิบัติที่แตกต่างกันราวฟ้ากับดิน คุณธรรมก็ต่างกันเหมือน ก้อนกรวดเทียบกับภูเขา พวกยาจกจะขอด้วยการแสดงอาการอัน น่าสงสาร