อิทธิบาท ๔ : มรดกธรรมของหลวงปู่วัดปากน้ำ
ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา นี้เรียกว่า อิทธิบาท ๔ เป็นหัวใจแห่งความสำเร็จทั้งมวลแปลอย่างจำได้ง่ายว่า ปักใจ บากบั่น วิจารณ์ ทดลอง ไม่ว่าจะทำกิจการใด ถ้าประกอบด้วยอิทธิบาท ๔ อย่างนี้ เป็นสำเร็จทั้งสิ้น
อยากเป็นคนพิเศษ
คำถาม : มีคุณโยมท่านหนึ่งถามมาว่าถ้าหากว่าเราอยากเป็นคนพิเศษต้องทำอย่างไรคะ
อยากมีชีวิตที่เจริญ
คำถาม : ผมให้เงินแม่ทุกเดือน แต่ทำไมอาชีพการงานผมไม่ดีขึ้นเลยครับ ต้องทำอย่างไรจึงจะดีขึ้นครับ
"ปลื้ม" หัวใจของการสร้างบุญ
คำว่าปลื้มเป็นคำทั่วไปที่เราใช้กันคุ้นเคยแต่ศัพท์ในพระพุทธศาสนาที่มีความหมายใกล้เคียงกับคำว่าปลื้มก็คงเป็นคำว่า “ปีติ” (ไม่ใช่ปิติ) ปีติมี ๕ ประการ
ทำไมนักวิทยาศาสตร์ระดับโลกล้วนแต่ไม่ได้นับถือพระพุทธศาสนา
นักวิทยาศาสตร์ที่มีชื่อเสียงของโลก แม้เขาไม่ได้นับถือพระพุทธศาสนา ไม่ได้อ่านพระไตรปิฎก แต่เขาใช้หลักธรรมในพุทธศาสนาเอาไปปฏิบัติงานโดยไม่รู้ตัว
เวอร์ชั่นใหม่ "เณรสิขา นิวรณ์ 5” เกมคอมฯ จากเด็กไอที ม.รังสิต
อิทธิบาท 4 ธรรมแห่งความสำเร็จ
พระเดชพระคุณหลวงปู่ฯ ท่านใช้คำว่า ปล้ำใจให้อยู่ เหมือนนักมวยปล้ำมีคู่ต่อสู้คือความอยาก มันจะดึงใจเราให้ออกไปข้างนอก เราต้องดึงใจกลับมาให้มันหยุด สู้กัน และก็หมั่นสังเกตดูว่า เราทำถูกหลักวิชชาไหม หยุดนิ่งเฉย ๆ หรือเปล่า อย่างนี้แค่นี้เท่านั้น เดี๋ยวเราก็สมปรารถนา
อิทธิบาท4 ทางดำเนินไปสู่ความสำเร็จ
อิทธิบาทก็คือ “ทางดำเนินไปสู่ความสำเร็จ”ซึ่งประกอบด้วยหมวดธรรม 4 ข้อ คือ 1. ฉันทะ คือ เต็มใจทำ 2. วิริยะ คือ แข็งใจทำ 3. จิตตะ คือ ตั้งใจทำ 4. วิมังสา คือ เข้าใจทำ
คารวะ ๖
ศัพท์ว่า "คารวะ" แปลกันว่า ความเคารพ หมายถึงความเอื้อเฟื้อ มักจะพูดติดต่อกันว่า ความเคารพเอื้อเฟื้อและมักจะใช้คู่กับคำว่า "นับถือบูชา" โดยความหมาย ก็คือ การปฏิบัติดีปฏิบัติชอบยกย่องเชิดชู ไม่ลบหลู่ดูหมิ่น ในบุคคลนั้นๆ และในธรรมนั้นๆ
เชื่อไม่เชื่อ..กับศาสตร์ลับในธรรมะ..ช่วยสร้างเสน่ห์ให้คนรักคนชอบ..มาบอก