มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - พฤติกรรมที่ชักนําให้เสื่อม
เรื่องนี้มีข้อคิดหลายอย่าง ทั้งเรื่องกฎ แห่งกรรม ความสำคัญของใจในช่วงสุดท้ายตอนศึกชิงภพ และเรื่องความฉลาดในการสอบสวน จนสามารถรู้ถึงเหตุที่แท้จริงจากผลที่เกิดขึ้น เรื่องการเป็นคนช่างสังเกต รู้ว่าใครเป็นพาล เป็นบัณฑิต เป็นมิตรหรือศัตรู
สัตตปัตตชาดก ชาดกว่าด้วยความสำคัญผิด
ข้อวินัยให้สงฆ์สาวกปฏิบัติแต่ละบทนั้น มักเกิดขึ้นเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องไม่เหมาะสมเป็นกรณีๆ ไป พุทธกาลครั้งหนึ่งก็เป็นดังนั้น พุทธวินัยครั้งนี้เกิดขึ้นเพราะพระฉัพพัคคีย์ 2 รูปล่วงพระวินัยข้อยึดถือในทรัพย์ มิได้ปล่อยวาง ปล่อยตัวปล่อยใจไปกับกิเลส ภิกษุผู้ก่อเหตุที่ว่านี้ชื่อ พระปัณฑกะ และพระโลหิถกะ
มงคลที่ ๓๑ บำเพ็ญตบะ - พรรษาแห่งการบรรลุธรรม
แม้ดวงตาภายนอกจะมืดบอด แต่ตาภายใน คือ ธรรมจักษุของท่านนั้น สว่างไสวยิ่งกว่าดวงอาทิตย์ยามเที่ยงวัน เป็นแสงสว่างที่นำมาซึ่งความสุข ความบริสุทธิ์ และความรู้แจ้งในธรรมทั้งหลาย แทงตลอดในนิพพาน ภพสาม โลกันตร์ อีกทั้งในพรรษานั้น ท่านยังได้สั่งสอนลูกศิษย์และพุทธบริษัทให้ได้บรรลุธรรมกันมากมาย
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - อย่ามัวประมาทอยู่เลย
นางยักษิณีคิดว่า บุรุษนี้มีใจเข้มแข็ง เราจะต้องจับกินให้ได้ นางเดินตามหลังพระโพธิสัตว์ไปเรื่อยๆ จนถึงปากทางออกจากป่าใหญ่ พบพวกคนหาของป่า คนเหล่านั้นกล่าวกับพระโพธิสัตว์ว่า กุมาริกาที่เดินตามหลังท่าน น่ารักน่าทะนุถนอมเหมือนพวงดอกไม้งาม ผิวพรรณก็งามเหมือนดั่งทอง เหตุใดท่านจึงปล่อยให้นางลำบาก ไม่จูงนางไปด้วยเล่า พระโพธิสัตว์กล่าวว่า พ่อคุณ ทั้งหลาย นั่นไม่ใช่ภรรยาของเรา แต่เป็นยักษิณี คนของเรา ๕ คน ถูกมันจับกินไปหมดแล้ว
สังเกตคนดีที่ความประพฤติ
บุคคลผู้ประสงค์จะไปสู่ทิศที่ไม่เคยไป (คือ อายตนนิพพาน) ต้องตามรักษาจิตของตน เหมือนคนประคองภาชนะน้ำมันที่เต็มเสมอขอบปากที่ไม่พร่องไว้ฉะนั้น
มัจฉชาดก ชาดกว่าด้วยความลุ่มหลง
มัจฉชาดก ชาดกว่าด้วยความลุ่มหลง คือตัวนำไปสู่ความตาย "อนิจจาปลาใหญ่คร่ำครวญถึงแต่นางปลาสาว มิได้รู้สึกกลัวความตายที่อยู่ตรงหน้าสักนิด"
พิธีมอบสื่อการเรียนรู้พระพุทธศาสนาโคราช
ชมรมสื่อการเรียนรู้พระพุทธศาสนา ในอุปถัมภ์พระราชภาวนาวิสุทธิ์ มอบสื่อการเรียนรู้วิชา
มโนชชาดก-ชาดกว่าด้วยคบคนชั่วไม่ได้ความสุขที่ยั่งยืน
สมัยนั้นมีสหายสองคนผู้เป็นชาวเมืองราชคฤห์ ในสองสหายนั้น คนหนึ่งบวชในสำนักของพระศาสดาอีกคนหนึ่งบวชในสำนักของพระเทวทัต สหายทั้งสองนั้นย่อมได้พบเห็นกันและกันอยู่เสมอ แม้ไปวิหารก็ยังได้พบเห็นกัน ภิกษุที่ออกบวชในสำนักพระศาสดาต้องปฏิบัติกิจสงฆ์ออกบิณฑบาต ปฏิบัติธรรมอยู่เป็นนิจ ส่วนภิกษุที่บวชในสำนักของพระเทวทัตนั้นไม่ต้องออกไปบิณฑบาต เพราะจะมีคนจัดสำรับไว้ให้ในโรงฉันเรียบร้อย
พระบัณฑิต DOU รุ่นแรกของโลก (8)
มีญาติโยมถามกระผมว่า เรียน DOU ยากไหม กระผมขอตอบได้เลยครับว่า ไม่ยาก เพราะกระผมเป็นเจ้าอาวาสมีภารกิจต้องดูแลบริหารวัด ต้องเทศน์สอน พร้อมๆกับทำกิจวัตร กิจกรรมของพระไปด้วย แต่กระผมก็เรียน DOU ได้จนจบ เพราะการเรียน DOU ไม่ได้เป็นภาระ แต่เป็นสิ่งที่ช่วยให้กระผมทำหน้าที่ของความเป็นพระได้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น DOU ทำให้กระผมได้ทบทวนความรู้ที่เคยศึกษามาแล้ว
ติตติรชาดก ชาดกว่าด้วยความเคารพอ่อนน้อม
นิทานชาดกเรื่องติตติรชาดก ชาดกว่าด้วยความเคารพอ่อนน้อม “ขณะที่เรายังมีชีวิตอยู่ ภิกษุทั้งหลายยังไม่มีความยำเกรงกัน ถ้าหากเราปรินิพพานไปแล้ว ภิกษุทั้งหลายจะเป็นอย่างไร”