อรูปพรหมภูมิ ที่อยู่ของพรหมที่ไม่ใช่รูปพรหม
การมาบังเกิดเป็นอรูปพรหมนั้น เมื่อครั้งเป็นมนุษย์จะต้องหมั่นสั่งสมบุญทั้งทาน ศีล ภาวนา โดยเฉพาะการเจริญภาวนา จะต้องทำจนถึงขั้นได้อรูปฌาน เป็นฌานที่สูงกว่ารูปฌานขึ้นไปอีก
สละชีวิตเป็นเดิมพันสร้างบารมี - พุทธประวัติ
พุทธประวัติ พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน
สอนได้ทุกระดับชั้น ทั้งมนุษย์ เทวดา และพรหม - พุทธประวัติ
มหาสมัยสูตรครั้งที่ 3 (ตอนภพมารสะดุ้ง)
เราจะบอกมลทินอันยิ่งกว่ามลทินนั้น อวิชชาเป็นมลทินอย่างยิ่ง ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลาย เมื่อละมลทินนั้นได้แล้ว ย่อมเป็นผู้หมดจด
บนสวรรค์ทั้ง ๖ ชั้น จะมีกิจกรรมพิเศษในภพนั้นๆ บ้างไหม
ในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เช่น วันวิสาขบูชา วันมาฆบูชาของทุกปี นอกจากมีการสร้างบุญในเมืองมนุษย์แล้ว บนสวรรค์ทั้ง ๖ ชั้น รวมถึงพรหม และอรูปพรหม จะมีกิจกรรมพิเศษในภพนั้นบ้างไหมคะ
มหาบุรุษ อัครบุรุษแห่งโลก
บรรดาสัตว์ทั้งหลายในโลกนี้ ทั้งที่เป็นสัตว์ ๒ เท้า ๔ เท้า มีเท้ามาก เท้าน้อย หรือไม่มีเท้าก็ตาม เป็นเทวา พรหม อรูปพรหมก็ดี พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า เป็นยอดแห่งสัตว์ทั้งปวงเหล่านั้น
มงคลที่ ๓๖ จิตไม่โศก - หยุดใจเพื่อให้เป็นไทจากอารมณ์
พระราชาเห็นว่า การเข้าหาสมณะผู้สงบและรับฟังธรรมะจากท่าน คงจะทำให้ใจสงบขึ้นมาได้ จึงเสด็จพระราชดำเนินไปอารามที่พระนารทเถระจำพรรษาอยู่ พระเถระได้แสดงธรรมให้พระเจ้ามุณฑะว่า "ขอถวายพระพรมหาบพิตร ในโลกนี้มีฐานะอยู่ ๕ประการ ที่สมณพราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรือใครๆในโลกไม่พึงได้ ฐานะ ๕อย่างนั้นคือ
๔๐ วิธี เพื่อเข้าถึงพระธรรมกาย
ผู้ใดแล มีศรัทธาตั้งมั่นเกิดขึ้นแล้วแต่ รากแก้วคืออริยมรรค ประดิษฐานมั่นคง อันสมณพราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรือผู้ใดผู้หนึ่งในโลก ไม่พรากไปได้ ควรเรียกผู้นั้นว่า เป็นบุตรเกิดแต่พระอุระ เกิดแต่พระโอฐของพระผู้มีพระภาค เป็นผู้เกิดแต่พระธรรม เป็นผู้ที่พระธรรมเนรมิตขึ้น เป็นผู้รับมรดกพระธรรม ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะคำว่า ธรรมกาย ก็ดี ว่าพรหมกาย ก็ดี ว่าธรรมภูต ก็ดี ว่า พรหมภูต ก็ดี เป็นชื่อของตถาคต
มูลกรรมฐาน กรรมฐานบทแรกของภิกษุผู้บวชใหม่ "เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ"
มูลกรรมฐาน คืออะไร มีความสำคัญประการใด ทำไมพระอุปัชฌาย์ทุกองค์จะต้องบอกมูลกรรมฐานแก่ภิกษุผู้บวชใหม่ทุกครั้ง ... มาหาความรู้กันได้ที่นี่ค่ะ "เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ"
งานบรรพชาสามเณร 294 รูป ครั้งแรกของบังกลาเทศ
ขณะนี้กระแสการฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในบังกลาเทศ กำลังชัดเจนมากขึ้นทุกขณะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลจากการร่วมมือกันของชาวพุทธจากไทยและบังกลาเทศนับตั้งแต่ได้ถวายองค์พระธรรมกาย 250 องค์แก่วัดต่างๆ ในปี พ.ศ. 2553