พระอริยเจ้า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ธรรมอื่นแม้อย่างหนึ่ง ซึ่งเป็นเหตุให้หมู่สัตว์ถูกธรรมนั้นหุ้มห่อ แล้วท่องเที่ยวไปสิ้นกาลนาน เหมือนหมู่สัตว์ผู้ถูกโมหะหุ้มห่อแล้ว ไม่มีเลย ส่วนพระอริยสาวกเหล่าใด ละโมหะแล้ว ทำลายกองแห่งความมืดได้แล้ว พระอริยสาวกเหล่านั้นย่อมไม่ท่องเที่ยวไปอีก เพราะอวิชชาอันเป็นต้นเหตุแห่งสงสาร ย่อมไม่มีแก่พระอริยสาวกเหล่านั้น
ธรรมกาย กายมาตรฐาน
สรีรยนต์นี้ ถูกกรรมปรุงแต่งทำให้เป็นนครแห่งกระดูกทั้งหลาย ฉาบด้วยเนื้อและโลหิต เป็นที่ตั้งลงแห่งชรา มรณะ มานะ และมักขะ
กฎหมายกับกฎแห่งกรรม
กฎหมายกับกฎแห่งกรรมแตกต่างกันอย่างไร? ผู้คนส่วนใหญ่เกรงกลัวกฎหมายหรือกฎแห่งกรรมมากกว่ากัน? กฎแห่งกรรมมีการลดโทษให้คนที่ทำบาปบ้างไหม?
พระมหากัปปินเถระ
บุคคล ผู้เอิบอิ่มในธรรม มีใจผ่องใส ย่อมอยู่เป็นสุข บัณฑิต ย่อมยินดีในธรรมที่พระอริยเจ้า ประกาศแล้วทุกเมื่อ
ชัยชนะครั้งที่ ๑ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๑ ชนะพญามาร)
เปรียบ..เสมือนดวงสุริยาที่ทอแสงให้ความสว่างในชีวิตแก่สรรพสัตว์ทั้งปวงโดยไม่เลือกที่รักผลักที่ชัง พระพุทธองค์เสด็จมาเพื่อประโยชน์สุขของมวล
คําศัพท์ภาษาอังกฤษน่ารู้ ตอน The Lord Buddha Part 8
ติดตามเรื่องเกี่ยวกับพระสัมมาสัมพุทธเจ้า The Lord Buddha's History Part #8 ประวัติของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 8 พระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้ทรง สถาปนาพระพุทธศาสนา
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 68 ธรรมสโมธาน การประมวลรวมกันแห่งธรรม
พระโพธิสัตว์จะต้องมีธรรมที่สำคัญอันจะเป็นเครื่องยืนยันการตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์หนึ่งในอนาคต นั่นคือ ธรรมสโมธาน
นกน้อยผู้มีจิตเลื่อมใส
“เอวํ อจินฺติยา พุทฺธา พุทฺธธมฺมา อจินฺติยา อจินฺติเยสุ ปสนฺนานํ วิปาโก โหตฺยจินฺติโย พระพุทธเจ้าเป็นอจินไตย พระธรรมของพระพุทธเจ้าก็เป็นอจินไตย วิบากของเหล่าชนผู้เลื่อมใสในพระพุทธเจ้าและพระคุณของพระองค์ก็เป็นอจินไตยเช่นกัน” (ขุททกนิกาย อปทาน)
ทำไมเขานุ่งกางเกงแดง
จนรุ่งเช้า แม่มาเล่าให้ฟังว่า คุณป้าข้างเตียง ที่เฝ้าไข้สามีของเขาในห้องเดียวกับพ่อ เล่าว่า คุณป้าเห็นคนใส่กางเกงสีแดง 3 คน เดินฝ่าประตูห้องเข้ามา ทันที่ที่ป้าเห็น เธอตกใจกลัวมาก
ธรรมกาย ในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาทยุคต้น
“ธรรมกาย” เป็นคำที่คุ้นเคยกันดีในหมู่ชาวพุทธ แต่ความหมายของธรรมกายในใจของชาวพุทธแต่ละกลุ่มอาจไม่เหมือนกัน เมื่อความเข้าใจเรื่องธรรมกายในหมู่ชาวพุทธแตกต่างกันอย่างนี้ จึงน่าศึกษาว่า คำว่า “ธรรมกาย” ในคำสอนเก่าแก่ที่เก็บรักษาไว้โดยชาวพุทธในแต่ละท้องถิ่นนั้นเป็นอย่างไร....