มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๖ ( ผู้ผดุงความยุติธรรม )
หนุ่มชาวนาตื่นขึ้นมาไม่เจอโคของตน ก็รีบวิ่งออกติดตามรอยเท้าโคไป เมื่อตามไปพบก็ร้องบอกโจรให้นำโคคืนมา ตนจะไม่เอาเรื่องเอาราวอะไร แต่เหตุการณ์กลับตรงข้าม เพราะโจรอ้างว่าโคนี้เป็นของเขา เมื่อไม่ยอมกันทั้งสองเกิดการทะเลาะวิวาท ชาวบ้านจึงพามาหามโหสถให้ช่วยตัดสินว่า ใครเป็นเจ้าของโคตัวนี้กันแน่
เดินตามทางของบัณฑิต ตอนที่ ( ๓ )
เศรษฐีนี้เข้าไปตัดทานวงศ์ของเรา เมื่อละโลกจักต้องไปเกิดในนรกโดยไม่ต้องสงสัย เราจะต้องลงไปปราบความเห็นผิด และทำเขาให้เป็นผู้ดำรงวงศ์ทาน ซึ่งเป็นอริยประเพณีอันดีงามของเราให้สืบต่อยาวนานที่สุด
มงคลที่ ๑ ไม่คบคนพาล - คนพาลไม่ต้องการเหตุผล
หากเรารู้ว่า ใครเป็นคนพาล เราควรรีบหลีกหนีให้ห่างไกล เพราะยิ่งอยู่ร่วมกันนาน จะยิ่งติดเชื้อพาล ซึ่งมีแต่จะนำความวิบัติความเสื่อมเสียมาให้ เหมือนดังเรื่องของแม่แพะ ที่พูดจาอ่อนหวาน แต่ในที่สุดก็ต้องถูกเสือจับกินเป็นอาหาร เรื่องมีอยู่ว่า
ทศชาติชาดก เรื่องเนมิราช ผู้ยิ่งด้วยอธิษฐานบารมี ตอนที่ 6
ธรรมดา การที่มนุษย์จะไปสู่สวรรค์ได้นั้น ก็ต่อเมื่อหลังจากที่ตายจากโลกนี้ไปแล้วเท่านั้น จึงจะไปสู่เทวโลกด้วยกายทิพย์ แต่ก็ต้องเป็นบุคคลที่ได้สั่งสมบุญเอาไว้เป็นอย่างดีแล้ว
ทศชาติชาดก เรื่องสุวรรณสาม ผู้ยิ่งด้วยเมตตาบารมี ตอนที่ 19
ฝ่ายพระโพธิสัตว์ แม้ฤษีผู้เป็นบิดามารดาจะได้ดวงตาคืนมา มองเห็นเป็นปกติดังเดิมแล้ว แต่พระโพธิสัตว์ก็ยังคงปฏิบัติบำรุงบิดามารดาเหมือนดังเดิม มิให้ท่านทั้งสองต้องลำบากกายลำบากใจ
มงคลที่ ๑๐ มีวาจาสุภาษิต - ผลแห่งอริยวาจา
วาจาที่เปล่งออกจากปาก จะทำให้เป็นบุญเป็นกุศลก็ได้ หรือเราจะให้เป็นหอก เป็นเข็มที่มาทิ่มแทงจิตใจคนอื่นก็ได้ แต่บัณฑิตนักปราชญ์ทั้งหลาย ท่านจะใช้วาจาเป็นประดุจดอกไม้หอม เพื่อบูชาพระรัตนตรัย วาจาอย่างนี้แหละชื่อว่า อริยวาจา วาจาที่ประเสริฐ ที่เป็นทางมาแห่งความเป็นพระอริยเจ้า เป็นวาจาที่สามารถเปลี่ยนตัวเราเอง ดังเรื่องของพระอธิมุตตเถระ
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - อย่างหลงใหลเพลิดเพลิน
สมัยหนึ่งในกรุงราชคฤห์ มีหญิงงามเมืองผู้มีความงดงามคนหนึ่ง ชื่อ สิริมา ได้เคยประทุษร้ายต่อนางอุตตรา ซึ่งเป็นลูกสาวของท่านปุณณเศรษฐี เมื่อสำนึกผิดแล้วได้ขอโทษนางอุตตรา และทูลขอขมาโทษพระบรมศาสดาด้วย ในวันนั้น หลังจากได้ฟังพระธรรมเทศนาจากพระบรมศาสดาว่าพึงชนะคนโกรธ ด้วยความไม่โกรธ พึงชนะคนไม่ดี ด้วยความดี พึงชนะคนตระหนี่ ด้วยการให้
มงคลที่ ๑๙ งดเ้ว้นจากบาป - กลิ่นแห่งความหลุดพ้น
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงตรัสตอบติสสฤๅษีว่า ชนเหล่าใดฆ่าสัตว์ ไม่สำรวมในกามทั้งหลาย มีความเห็นว่า ทานที่บุคคล ให้แล้วไม่มีผล เป็นผู้ประทุษร้ายมิตร มีปกติไม่ให้ นี้ชื่อว่ากลิ่นดิบของชนเหล่านั้น เนื้อ และโภชนะไม่ชื่อว่าเป็นกลิ่นดิบ และสัตว์เหล่าใดขวนขวายในอกุศลกรรม ตายแล้วย่อมเข้าถึงที่มืด มีศีรษะลงตกไปสู่นรก
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 88
เมื่อพระเจ้าวิเทหราชทรงสดับคำ พยากรณ์นั้นแล้ว ก็ทรงเข้าพระทัยเนื้อความของปัญหาอย่างแจ่มแจ้ง ปริศนานั้นจึงกระจ่างแจ้งแก่พระหฤทัยของท้าวเธอ ดุจเผยสุริยมณฑลให้มาปรากฏท่ามกลางนภากาศ แม้เทวดาผู้เป็นเจ้าของปัญหานั้นเล่า ก็ปลื้มปีติเกินประมาณ รีบเผยกำพูฉัตรออกมาสำแดงกายกึ่งหนึ่งให้ปรากฏ พลางเปล่งสาธุการด้วยเสียงทิพย์อันกังวาน
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - ไม่ควรประมาทในชีวิต
พระเจ้าปเสนทิโกศลได้เสด็จไปเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า พลางทูลถามพระผู้มีพระภาคเจ้าถึงเรื่องราวต่างๆ ของมนุษย์ว่า ทำไมอายุของมนุษย์ในแต่ละยุคแต่ละสมัย มีความสั้นยาว ไม่เท่ากัน บาง ยุคมนุษย์มีอายุตั้ง ๘๐,๐๐๐ ปี และทำไมบางยุค อายุของมนุษย์สั้นเหลือเพียง ๑๐ ปี พระพุทธเจ้าทั้งหลายในอดีต จะนิยมลงมาอุบัติในโลกมนุษย์ ในยุคที่มนุษย์มีอายุยืนยาวสักเท่าใด