สังขารดับ แต่ใจยังอาวรณ์
มรณภาพและละสังขาร: ความหมายและความแตกต่างในบริบททางพระพุทธศาสนา
บทความนี้กล่าวถึงความหมายและความแตกต่างของคำว่า 'มรณภาพ' และ 'ละสังขาร' ในบริบททางพระพุทธศาสนา เพื่อแสดงถึงความเคารพและเกียรติยศต่อผู้ล่วงลับ
ธรรมกาย กายมาตรฐาน
สรีรยนต์นี้ ถูกกรรมปรุงแต่งทำให้เป็นนครแห่งกระดูกทั้งหลาย ฉาบด้วยเนื้อและโลหิต เป็นที่ตั้งลงแห่งชรา มรณะ มานะ และมักขะ
มงคลที่ ๒๖ ฟังธรรมตลอดกาล - ฟังธรรมตามกาล
พระภิกษุรูปหนึ่งชื่อ เอกธรรม ท่านบรรลุธรรมเป็นพระอรหันต์ในขณะที่มีอายุเพียง ๗ ขวบเท่านั้น เมื่อบรรลุธรรมแล้ว ก็ระลึกชาติในอดีตว่า ได้ทำบุญอะไรมา ถึงได้บรรลุธรรมตั้งแต่เยาว์วัย ประเภทสุขาปฏิปทา ขิปปาภิญญา คือ ปฏิบัติได้สะดวก ตรัสรู้ได้อย่างรวดเร็ว ไม่ต้องลำบากทำความเพียร เหมือนกับภิกษุรูปอื่นๆ ท่านได้เล่าให้ฟังว่า
ประวัติพระพุทธเจ้า ตอนที่ 3
ประวัติพระสัมมาสัมพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน รูปภาพพระพุทธเจ้า การประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน สรุปประวัติพระพุทธเจ้า ตอนที่ 3
หลุดพ้นจากสังสารวัฏ
ท่านพิจารณาเห็นธาตุทั้งหลายว่าเป็นทุกข์แล้ว อย่าเกิดอีก ท่านสำรอกความพอใจในภพแล้ว จงเป็นผู้สงบระงับเที่ยวไปเถิด
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 24 ยุคศิวิไลซ์อันน่าอัศจรรย์ (4)
คนชราในยุคของพระศรีอริยเมตไตรย์จะแตกต่างกับคนชราในยุคปัจจุบันเป็นอย่างมาก
มรณสติ นำชีวิตสู่หลักชัย
ในอดีตกาล เมื่อพระโพธิสัตว์เกิดเป็นชวนหงส์ ซึ่งเป็นหงส์ที่มีความเร็วมาก มีหงส์เก้าหมื่นเป็นบริวาร อาศัยอยู่ ณ ภูเขาจิตตกูฏ ทุกวันจะพาบริวารบินออกหากินเมล็ดข้าวที่เกิดเองตามธรรมชาติ วันหนึ่งลูกหงส์ทอง ๒ ตัว ซึ่งเป็นน้องเล็กของพระมหาสัตว์ ปรึกษากันว่า ทั้งสองจะทดสอบบินแข่งกับพระอาทิตย์ดูว่า ระหว่างดวงอาทิตย์กับหงส์ ใครจะเร็วกว่ากัน จึงได้ขออนุญาตพระมหาสัตว์
ในโลกนี้ เราจะหาอะไร ๆ ให้กับใจที่มีกิเลสราคะ กิเลสโทสะ กิเลสโมหะนั้น ไม่มีที่พอ ได้เท่าไหร่มันก็ไม่พอ
คำคมสอนใจกับธรรมะใสๆ ที่ให้แง่คิดมุมมองดีๆ กับชีวิต สามารถนำมาใช้ในชีวิตประจำวันได้ เพื่อประโยชน์แก่ตนเองและผู้อื่น
มงคลที่ ๕ มีบุญวาสนามาก่อน - บุญหาช่องคอยส่งผล
็เพื่อทำให้ทุกท่านได้เชื่อมั่นและมีกำลังใจในเรื่องการสร้างบารมี เพื่อให้มั่นใจว่า สิ่งที่ดีงามเหล่านี้ บัณฑิตนักปราชญ์ในกาลก่อนล้วนทำมาแล้ว และได้รับผลของการกระทำนั้นอย่างเกินควรเกินคาด ดังนั้นเราทุกคนควรดำเนินตามรอยท่านผู้มีบุญในกาลก่อน ดังเช่นพระเถระรูปนี้