มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - สัมมาทิฏฐิ ( ๑ )
สัมมาทิฏฐิเบื้องต้นทั้ง ๑๐ ประการนี้ เปรียบเสมือนลู่ที่ให้เราวิ่งไปตามทาง เหมือนแสงทองส่องนำชีวิตให้ก้าวไปสู่ความสุขความสำเร็จ จึงต้องตอกย้ำบ่อยๆ เพื่อเป็นการทบทวนด้วยว่า เรามีสัมมาทิฏฐิครบถ้วนบริบูรณ์แล้วหรือยัง
รู้จักกายที่แท้จริงของตัวเอง
สัตว์อันราคะย้อมแล้ว ถูกกองอวิชชาหุ้มห่อแล้ว จักไม่เห็นธรรมอันละเอียด ลึกซึ้ง ยากที่จะเห็น ละเอียดยิ่ง อันจะยังสัตว์ให้ถึงธรรมที่ทวนกระแส คือ นิพพาน
สัมมาทิฏฐิ 10 ประการ หลักธรรมว่าด้วยความเห็นชอบ 10 ประการ
สัมมาทิฏฐิ 10 ประการ สัมมาทิฏฐิ หมายถึง มีความเห็นชอบ เห็นถูกต้องตามทำนองคลองธรรม
อานุภาพเนรุบรรพต
การอยู่ในประเทศที่เหมาะสม เป็นมงคลอันสูงสุด
มรณภาพและละสังขาร: ความหมายและความแตกต่างในบริบททางพระพุทธศาสนา
บทความนี้กล่าวถึงความหมายและความแตกต่างของคำว่า 'มรณภาพ' และ 'ละสังขาร' ในบริบททางพระพุทธศาสนา เพื่อแสดงถึงความเคารพและเกียรติยศต่อผู้ล่วงลับ
ความหมายของกายในคำว่าธรรมกาย
คำว่า ธรรมกาย เป็นศัพท์สมาส ที่อาจแปลเป็นคำคุณศัพท์ว่า ผู้มีธรรมเป็นกาย หรืออาจแปลเป็นคำนามก็ได้ว่า กายแห่งธรรม กายคือธรรมหรือ กายที่ประกอบด้วยธรรม
ระบบการขนส่งหลักภายในร่างกาย
องค์ประกอบหลักทั้ง ๓ ประการ ดังกล่าวในข้อ ๑ นั้น ไม่สามารถเคลื่อนที่ไปได้ด้วยตัวเอง ร่างกายจึงต้องมีระบบการขน
ร่างกายดำรงภาวะปกติได้อย่างไร
การที่ร่างกายดำรงภาวะปกติได้นั้น อวัยวะทุกส่วนจะต้องทำงานพร้อมกันเป็นปกติ และต้องทำงานประสานสัมพันธ์กันเป็นอย่างดีเมื่อเจาะลึกเข้าไปในหน่วยย่อยของภายในของอวัยวะ
ดื่มน้ำอย่างไร ให้ถูกดี ถึงดี พอดี
โดยทั่วไปคนเราสามารถอดอาหารได้นานเป็นสัปดาห์ถ้าร่างกายขาดน้ำเพียง ๑ – ๒ วัน ก็ถึงขั้นปางตายได้
มีสติ ด้วยปัญญา
สติทำให้เกิดสมาธิ และสมาธิทำให้เกิดปัญญา ปัญญาที่มีสมาธิเป็นฐานนั้นจะมีพลังมากมีอานิสงส์มาก พระพุทธเจ้าตรัสรู้ เพราะปัญญา แต่กว่าจะตรัสรู้ได้ พระพุทธเจ้าต้องเจริญสติบำเพ็ญสมาธิ เพราะฉะนั้นฝึกสติให้อยู่กับปัจจุบันอย่าใจลอย ใจต้องอยู่กับเรื่องเฉพาะหน้า ที่ต้องทำ ท่านจะมีสมาธิ แล้วสมาธินั้นทำให้เกิดปัญญา ปัญญาที่นำมาใช้ในชีวิต ประจำวัน เรียกว่าสัมปชัญญะ สัมปชัญญะก็คือปัญญาเฉพาะเรื่องนั่นเอง ปัญญาคือความรอบรู้ ส่วนสัมปชัญญะ ก็คือความรู้ชัดรู้จริงที่นำมาแก้ปัญหาเฉพาะหน้าขณะนั้นได้ ถ้าสติไม่มาปัญญาก็ไม่เกิด สติมา ปัญญาเกิด สติเตลิดก็เกิดปัญหา