บวชแล้ว "สังคมและประเทศชาติ" และ "พระพุทธศาสนา" ได้อะไร
บวชแล้ว "สังคมและประเทศชาติ" ได้อะไร ๑. เป็นการสร้างความสมัครสมานสามัคคีให้เกิดขึ้นแก่พุทธบริษัท ๔ ทั้งแผ่นดิน ๒. ฟื้นฟูศีลธรรมในใจของผู้คนที่กำลังเสื่อมลงทุกขณะให้หวนกลับคืนมาอีกครั้งหนึ่ง
บวช บวชพระ บวชเถิดชายไทย กตัญญู ลูกผู้ชาย มาบวชกัน
บวชเถิดชายไทย มาบวชกัน บวชที่ไหนดี สถานที่บวช บวชแล้วทำไมเรียกทิด บวชเป็นพระ พ่อแม่ได้บุญอย่างไร บวชนานแค้ไหนดี บวชแล้วได้อะไรบ้าง บวชเข้าพรรษาดีอย่างไร
บวชเถิดชายไทยอย่ามัวหลับใหลลุ่มหลง
การบรรพชาอุปสมบท หรือเรียกสั้น ๆ ว่าการบวช คือ การยกฐานะจากผู้นับถือพระรัตนตรัยขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของพระรัตนตรัย เป็นหนทางสู่พระนิพพาน เป็นสิ่งที่กระทำได้ยาก กว่าจะมีการบวชต้องถึงพร้อมด้วยองค์ประกอบหลายประการ
ชาดกเกี่ยวกับอานิสงส์ของการรักษาศีล
เรื่อง "สีลานิสังส์สชาดก" ในสมัยหนึ่ง พระพุทธเจ้าประทับอยู่วัดเชตวัน เมืองสาวัตถี ทรงปรารภอุบาสกผู้มีศรัทธาคนหนึ่งที่สามารถเดินข้ามแม่น้ำอจิรวดีไปฟังธรรมได้ด้วยอำนาจคุณของศีล ได้ตรัสอดีตนิทานมาสาธก ว่า...
พระสัมมาสัมพุทธเจ้า บรมครูของมนุษย์และเทวดา
พระสัมมาสัมพุทธเจ้า บรมครูของมนุษย์และเทวดา พระสัมมาสัมพุทธเจ้า คือ ท่านผู้รู้ดีรู้ชอบด้วยพระองค์ก่อน แล้วสอนให้ผู้อื่นรู้ตามด้วย ได้แก่สอนให้ประชุมชนเว้นชั่ว ประพฤติชอบประกอบตนไว้ในทางที่สมควร
ทำไมต้องกราบพระ
เรากราบเพื่อน้อมสักการะบูชาบุคคลผู้ควรแก่การสักการะบูชา มีพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระอริยสงฆ์สาวก มารดาบิดาครูอาจารย์ เป็นต้น เป็นความประพฤติที่ดีงาม ที่มาจากจิตใจที่ดีงาม เป็นไปเพื่อความเจริญขึ้นของกุศลธรรม ขัดเกลากิเลสในชีวิตประจำวัน
พระภิกษุ ทายาทของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
บิณฑบาต หมายถึง อาหารที่ใส่ลงในบาตรพระ, อาหารถวายพระ; ในภาษาไทย หมายถึง การรับของใส่บาตร เช่น พระไปบิณฑบาต คือ ไปรับอาหารที่เขาจะใส่ลงในบาตร
บุญ เบื้องหลังความสุขและความสำเร็จ
มนุษย์ทุกคนเมื่อเกิดมาก็จำเรื่องในชาติก่อนไม่ได้ จึงไม่รู่ว่าเราเคยไปทำบาปอะไรไว้บ้าง จะรับผลบาปเป็นความทุกข์เมื่อไรก็ไม่รู้ แต่เราไม่ต้องกังวลไปเราะแม้อดีตที่ผิดพลาดแก้ไขไม่ได้ แต่ปัจจุบันเราสามารถสั่งสมบุญเพื่อให้บาปเจือลงได้ด้วยการทำงาน รักษาศีล และเจริญภาวนา
การสนทนาระหว่างฆราวาสกับพระภิกษุ/สามเณร
การสนทนาระหว่างฆราวาสกับพระภิกษุ/สามเณร ๑. เวลาพระท่านพูด ควรตั้งใจฟังด้วยความเคารพ ไม่ควรขัดจังหวะหรือพูดแทรกขึ้นมาในระหว่างที่ท่านกำลังพูดอยู่ ๒. เวลาท่านให้โอวาทหรืออวยพร ควรประนมมือฟังด้วยความเคาพ ๓. เวลารับไตรสรณคมน์ และรับศีล ควรว่าตามด้วยเสียงที่ชัดเจน
เรียนรู้บริขาร
บรรพชา เดิมใช้หมายถึง การบวชเป็นนักบวชทั่วไป เช่น เจ้าชายสิทธัตถะเสด็จออกบรรพชา สาวกบรรพชา และเรียกนักบวชเช่นนั้นว่า "บรรพชิต" แต่ในสมัยปัจจุบัน คำนี้ใช้เรียกเฉพาะการบวชเป็นสามเณรเท่านั้น ส่วนการบวชเป็นพระภิกษุเรียกว่า "อุปสมบท"