ใกล้คนดีก็ได้ดี
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเหล่าใดถึงพร้อมแล้วด้วยศีลสมาธิ ปัญญา วิมุตติ วิมุตติญาณทัสสนะ เป็นผู้กล่าวสอนให้รู้แจ้ง ให้เห็นแจ้ง ให้สมาทาน ให้อาจหาญ ให้ร่าเริง เป็นผู้สามารถบอกพระสัทธรรมได้อย่างดี
ทำทานอย่างไร จึงจะได้ บุญมาก ?
พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงเห็นอุบาสิกาชื่อ นันทมารดา ชาวเมืองเวฬุกัณฑกะ ถวายทักษิณาทานอันประกอบด้วยองค์ 6 ประการ ในภิกษุสงฆ์
ท่าทีต่อสงฆ์ในยุคปัจจุบัน
พระภิกษุตามวัดต่าง ๆ มีอยู่เป็นจำนวนมาก ที่ตั้งใจรักษาศีล ปฏิบัติธรรม ฝึกจิต ยินดีในความมักน้อย สันโดษ แต่สื่อไม่ได้นำข่าว ในด้านดีของพระมาเสนอต่อสาธารณชน ผู้คนในสังคมจึงพากันเข้าใจว่า พระดี ๆ หาไม่ได้แล้ว
ทำบุญใดถึงได้ไปสวรรค์ในแต่ละชั้น
การกระทำกุศลของมนุษย์นั้นแตกต่างกัน คนที่มีศรัทธาและมีปัญญา มีความเชื่อเรื่องบุญ เรื่องบาป ย่อมสามารถสร้างบุญได้มาก ได้ประณีต ได้ละเอียด และปลื้มปีติในบุญมากกว่าบุคคลที่ทำบุญเพราะทำตามประเพณี หรือทำบุญเพื่อหวังผลบางอย่าง
ชัยชนะครั้งที่ 8 (ตอนที่ 2 ชนะพกพรหม)
เพราะว่า สังสารวัฏกำหนดที่สุดของเบื้องต้นท่ามกลางและเบื้องปลายไม่ได้ ก็เหตุเพียงเท่านี้ พอทีเดียวที่เธอจะเบื่อหน่ายในสังขารทั้งปวง พอเพื่อจะคลายกำหนัด เพื่อให้พ้นทุกข์
กฐินทาน กาลทานที่มีผลานิสงส์มาก
คำสอนในพระพุทธศาสนากล่าวว่า “ทาน” หรือ “การให้” เป็นความดีที่เป็นสัมมาทิฐิเบื้องต้นของมนุษย์ทุกคน เพราะทั้งการให้ การแบ่งปัน หรือการสงเคราะห์ ล้วนเป็นคุณธรรมที่เกื้อกูลกันระหว่างชีวิตต่อชีวิต เป็นพื้นฐานความดีที่จะช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีความเจริญก้าวหน้าต่อไป ดังเช่น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าในครั้งยังสร้างบารมี กว่าพระองค์จะทรงประสบความสำเร็จขั้นสูงสุดในชีวิต คือการตรัสรู้ธรรม พระองค์ก็ทรงอาศัยการทำทานเป็นจุดเริ่มต้นของการสั่งสมความดี
นิพพาน บทสรุปของชีวิตในสังสารวัฏ ตอนที่ 3
ว่า นิพพานมีอย่างเดียว แต่มองเป็น 2 ด้าน ด้านที่หนึ่งคือ นิพพานในแง่ของความสิ้นกิเลส ซึ่งมีผลต่อการติดต่อเกี่ยวข้องกับโลกภายนอก หรือต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน ด้านที่สอง คือ นิพพานในแง่ที่เป็นภาวะจำเพาะล้วนๆ แท้ๆต
อาศัยมานะเพื่อละมานะ
หมู่สัตว์ประกอบด้วยมานะ มีมานะเป็นเครื่องร้อยรัด ยินดีแล้วในภพ จึงต้องเป็นผู้กลับมาสู่ภพอีก ส่วนผู้ใดอาศัยมานะละมานะได้แล้ว น้อมไปในธรรม ย่อมก้าวล่วงซึ่งกิเลสเครื่องร้อยรัดทั้งหลาย
กรรมของการรังแกสัตว์
สตรี บุรุษ คฤหัสถ์หรือบรรพชิต ควรพิจารณาเนืองๆ ว่า เรามีกรรมเป็นของตน เป็นทายาทแห่งกรรม มีกรรมเป็นกำเนิด มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นที่พึ่ง ใครทำกรรมใดไว้ ดีหรือชั่วก็ตาม จักเป็นผู้รับผลของกรรมนั้น
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - การให้ที่มีผลมาก (๑)
การทำบุญให้ทานที่ถูกหลักวิชา เป็นสิ่งที่สำคัญมาก การให้ที่มุ่งถึงปฏิคาหก ถ้าทักขิไณยบุคคลมีความละเอียดของภูมิธรรมสูงขึ้นไป ก็จะยิ่งมีอานิสงส์เพิ่มมากขึ้น ปัจจุบันพวกเราทั้งหลายนับว่ายังโชคดีอยู่ เพราะเรายังมีภิกษุสงฆ์เป็นเนื้อนาบุญให้ได้ทำทานอยู่