จันทกุมารบําเพ็ญขันติบารมี (2)
ภิกษุทั้งหลาย ผู้ประกอบด้วยความอดทน ย่อมไม่หลงทำกาละ เมื่อแตกกายทำลายขันธ์ ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์
จันทกุมารบําเพ็ญขันติบารมี (4)
สัตบุรุษทั้งหลายบรรเทาความทุกข์อันยากที่จะอดทนได้ด้วยความสุข เพราะเป็นผู้มีจิตเยือกเย็นยิ่งนัก ในความสุข และทุกข์ทั้ง ๒ อย่าง ย่อมเป็นผู้มีจิตเป็นกลาง ทั้งในความสุขและทุกข์
ธรรมกาย กายแห่งการตรัสรู้ธรรม
ธรรมกาย คือ กายแห่งการตรัสรู้ธรรม คำว่า “ธรรมกาย” มีปรากฏหลักฐานทั้งในพระไตรปิฎก และคัมภีร์สำคัญๆ ในพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทของเราหลายแห่ง พุทธรัตนะ คือ ธรรมกาย ธรรมรัตนะ คือ ธรรมทั้งหลายที่กลั่นจากหัวใจธรรมกาย สังฆรัตนะ คือ ดวงจิตของธรรมกาย
มงคลที่ ๓๒ ประพฤติพรหมจรรย์ - ครั้งหนึ่งในชีิวิตของลูกผู้ชาย
"ดูก่อนโสณะ พรหมจรรย์มีภัตรหนเดียว ต้องนอนผู้เดียวตลอดชีวิต เป็นสิ่งที่ทำได้ยาก ท่านเป็นคฤหัสถ์อยู่ในเรือน จงหมั่นประกอบพรหมจรรย์อันมีภัตรหนเดียว นอนผู้เดียว ซึ่งเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลายเถิด" แม้พระอาจารย์จะทักเช่นนี้ แต่ด้วยมโนปณิธานอันแน่วแน่ที่จะบวชให้ได้ ท่านเพียรเข้าไปขออนุญาตพระเถระถึง ๓ครั้ง
"รักแลกภพ" ภาพยนตร์ที่ทุกคนกล่าวถึง....
"รักแลกภพ" ภาพยนตร์ที่ทุกคนกล่าวถึง ในงานวันรวมพลังเด็กดี V-Star ครั้งที่ 10 ณ วัดพระธรรมกาย
มงคลที่ ๑๙ งดเ้ว้นจากบาป - ผู้ก่อบาปกรรม ย่อมแพ้สงครามแห่งชีวิต
นายจุนทะ ผู้เลี้ยงชีพด้วยการขายเนื้อสุกร เขามีชีวิตอยู่กับการฆ่าสุกรมาตลอด ๕๕ ปี ทุกวันหลังจากที่ฆ่าสุกรแล้ว เขาจะแบ่งเนื้อไว้กินกันเองในครอบครัว และนำเนื้อส่วนที่เหลือไปขายเลี้ยงชีพ ตลอดชีวิตที่ผ่านมา เขาไม่เคยประกอบกุศลกรรมใดๆ ไม่ว่าจะเป็นการทำทาน รักษาศีล หรือเจริญภาวนา แม้พระบรมศาสดาจะประทับอยู่ในวัดเวฬุวัน ซึ่งอยู่ใกล้ๆ บ้าน เขาก็ไม่เคยไปวัด ไม่เคยถวายอาหารแม้เพียงข้าวทัพพีเดียว มีแต่ทำบาปกรรมมาตลอด
มหาโควินทสูตร (ตอนที่ 4 โชติบาลกุมาร)
ความดี คนดีทำง่าย ความดี คนชั่วทำยาก ความชั่ว คนชั่วทำง่าย ความชั่ว อริยบุคคลทำได้ยาก
การเป็นคนว่ายาก ไม่ดีเลยค่ะ
ลูก อยากจะขอฝากถึงนักเรียนโรงเรียนอนุบาลฝันในฝันวิทยา ทั่วโลก ว่า “การเป็นคนว่ายาก ไม่ดีเลยค่ะ” ในโลกนี้มีสิ่งต่างๆอีกมาก ที่เรายังไม่รู้ เมื่อไม่รู้ก็อย่าเพิ่งตัดสินว่า ดีหรือไม่ดี จงใช้การพิจารณาแบบกาลามสูตรดูก่อนเถิด มันเป็นจริงดังคำกล่าวของคุณครูไม่ใหญ่ที่ว่า “พวกเขาไม่รู้ว่า ตัวเองยังไม่รู้”
มงคลที่ ๒๓ มีความถ่อมตน - อ่อนน้อมถ่อมตน
ผู้ที่จะเป็นผู้ยิ่งใหญ่ได้รับการ ยกย่องนับถือจากผู้อื่นด้วยความจริงใจนั้น จะต้องเป็นผู้มีความอ่อนน้อมถ่อมตน ถ้าขาดคุณธรรมข้อนี้แล้ว แม้จะได้รับยศตำแหน่งก็จะอยู่ได้ไม่นาน เพราะการเป็นคนแข็งกระด้าง อวดดื้อถือดีดูถูกดูหมิ่นคนอื่น เป็นผลเสียอย่างใหญ่หลวง ทั้งต่อตนเองและหมู่คณะ โดยที่บุคคลนั้นก็คาดไม่ถึงว่า จะมีโทษมากถึงเพียงนั้น
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 114
ฝ่ายมโหสถบัณฑิตเมื่อได้รับข่าวจากทูตทหารเหล่านั้น จึงส่งข่าวตอบไปว่า “ขอ ท่านทั้งหลายอย่าได้วิตกกังวลไปเลย บัดนี้เราได้เตรียมการป้องกันพระนครไว้แล้วด้วยความไม่ประมาท ว่าแต่พวกท่าน เมื่อจะทำการใดๆก็จงระแวดระวังให้ดี อย่าให้ถูกจับได้ และจงอย่าประมาท เป็นเหตุให้เสียการ”